Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลเพื่อบรรเทาความปวดในระยะคลอดโดยไม่ใช้ยา - Coggle Diagram
การดูแลเพื่อบรรเทาความปวดในระยะคลอดโดยไม่ใช้ยา
การลดตัวกระตุ้นความปวด
การเคลื่อนไหว
การนั่ง การนั่งเก้าอี้โยก (rocking) การนั่งเอียงไปมาบนลูกบอล (swaying) การนั่งเก้าอี้ที่กลับหลังและซบหน้าบนพนักพิงเก้าอี้ (sitting backwards on a chair) นั่งยอง การเดิน และการเต้นรำช้า ๆ
ท่า
ท่าศีรษะและลำตัวสูง (upright position)
ท่าที่ศีรษะและกระดูกสันหลังทำมุม 30-90 องศากับแนวราบ
ท่าคุกเข่า (all four or hands and knees position)
ช่วยลดอาการปวดหลังกรณีที่ทารกมีท้ายทอยอยู่ด้านหลังช่องเชิงกรานมารดา (occipitoposterior position) และอาจช่วยการหมุนของศีรษะให้ท้ายทอยมาอยู่ด้านหน้าช่องเชิงกรานมารดาได้
ท่าพีเอสยูแคท (PSU Cat)
ให้ผู้คลอดหันหน้าไปทางหัวเตียงที่ยกสูง 45-60 องศา วางหน้าและอกผุ้คลอดบนหมอน เข่ายันพื้นแยกห่างกันพอประมาณ ให้ส่วนบนแนวลำตัว ส่วนบนสูงกว่าส่วนล่างเล็กน้อย
ท่าคุกเข่าโน้มตัวไปข้างหน้าโอบแขนและพักบนลูกบอลที่มีความสูงระดับไหล
จัดให้ผู้คลอดคุกเข่าและโน้มตัวไปด้านหน้า จากนั้นโอบแขนและพักแนวล าตัวบริเวณอกอยู่บนลูกบอลที่มีความสูงระดับไหล่
ท่านั่งยอง
เป็นท่าที่ศีรษะและลาตัวอยู่ในแนวดิ่ง โดยนั่งยองๆแล้วแยกขาออกจากกันประมาณช่วงไหล่ ก้นลอยเหนือพื้น ทิ้งน้าหนักตัวบนฝ่าเท้าทั้ง 2 ข้าง
ให้กระบวนการคลอดเร็วขึ้น
ข้อดี
ช่วยเพิ่มแรงดันภายในมดลูกขณะมีการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อ มดลูก
ขนาดของช่องเชิงกรานเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 28
เส้นผ่านศูนย์กลางแนวขวางเพิ่มขึ้นประมาณ 1 เซนติเมตร
เส้นผ่านศูนย์กลางหน้าหลังเพิ่มขึ้น 0.5-2 เซนติเมตร
ข้อจำกัด
ทำให้ทรงตัวยาก
เนื่องจากขารับน้าหนักมาก
ทำให้ปวดเมื่อย ปากมดลูกบวมง่าย
ผู้คลอดอาจรู้สึกอายเมื่อนั่งท่านี้
อาจเพิ่มความเสี่ยง ต่อการเกิดมดลูกหย่อนตามมาได้
การเคลื่อนไหวอย่างอิสระ
การลุกนั่ง การนั่งเก้าอี้โยก การนั่งโยกบนลูกบอล การเดิน การเต้นราช้า ๆ
เพื่อลดปวดในระยะปากมดลูกเปิดเร็ว
ทำให้มดลูกหดรัดตัวดีขึ้น
ใช้เวลาในการ คลอดสั้นลง
ลดการใช้ยาออกซิโตซินเพื่อกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
การกระตุ้นประสาทส่วนปลาย
การประคบร้อน และเย็น
ประคบ ความร้อนบริเวณท้องส่วนล่าง ขาหนีบ และฝีเย็บ
การประคบร้อนใช้อุณหภูมิประมาณ 40-50 องศาเซลเซียส
เพื่อให้ร้อนเฉพาะบริเวณ ผิวหนัง ไม่ถึงชั้นกล้ามเนื้อและอวัยวะที่ลึก ๆ เนื่องจากถูกกั้นด้วยชั้นของไขมัน
เพิ่มความทนต่อความปวดมากขึ้น
เนื่องจากความร้อนจะเพิ่มการ ไหลเวียนเลือด เพิ่มอุณหภูมิของผิวหนัง กล้ามเนื้อ และการเผาผลาญของเนื้อเยื่อ
ประคบเย็นทำบริเวณหลัง ก้น และฝีเย็บ
การประคบเย็นใช้อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส
ใช้เวลาในการประคบ 10 นาทีในสตรีตั้งครรภ์ผอม ส่วนสตรี ตั้งครรภ์อ้วนใช้เวลา 30 นาที
ทาให้การส่งกระแสประสาทล่าช้า ความปวดจึงลดลงเพราะความเย็น
ช่วยลดการไหลเวียนของเลือด อุณหภูมิของผิวหนังและกล้ามเนื้อ การเผาผลาญและการเกร็งของกล้ามเนื้อ
การบ้าบัดโดยใช้น้าหรือวารีบ้าบัด
ให้ผู้คลอดแช่ในน้าธรรมดาหรือน้าอุ่น
เนื่องจากการแช่ในน้า ทาให้สารเอนดอร์ฟินหลั่งเพิ่มขึ้น
ความปวดลดลง และการไหลเวียนเลือดดีขึ้น
น้าอุ่นจะกระตุ้นเส้นประสาทขนาดใหญ่ทาให้ประตูความปวดที่ไขสันหลังปิด
ผู้คลอดจึงไม่รู้สึกปวด
การแช่ในน้าอุ่นที่อุณหภูมิไม่เกิน 38 องศาเซลเซียส นาน 25 นาที
ทำให้อุณหภูมิของ ร่างกายเพิ่มเพียง 0.1 องศาเซลเซียส
อุณหภูมิของน้า 34-38 องศาเซลเซียสจะเหมาะกับการแช่ตัว และอุณหภูมิน้าต้องไม่เกิน 42 องศาเซลเซียส
หากเกินกว่า นี้จะกระตุ้นให้ปวดได้
พยาบาลผดุงครรภ์สามารถใช้วารีบาบัดแก่ผู้คลอดได้ในระยะปากมดลูกเปิดเร็ว
แช่ในอ่างน้าอุ่น หรืออาบน้าอุ่น
การสัมผัส การนวด และการกดจุด
การลูบ
การลูบถือเป็นการนวดเพียงเบา ๆ
ใช้ปลายนิ้วมือลูบเป็นวงกลมด้วยจังหวะสม่าเสมอ ไม่ออกแรงกดกล้ามเนื้อ
เพื่อบรรเทาความปวดในระยะที่ 1 ของการคลอด
บริเวณท้องหรือ หน้าขา โดยการลูบหน้าท้อง
ใช้ปลายฝ่ามือทั้ง 5 นิ้วของข้างที่ถนัด นวดเป็นวงกลม วนขวาจากวงกลมเล็ก ๆ แล้วค่อยขยายเป็นวงกลมใหญ่ขึ้นด้วยจังหวะสม่าเสมอ ทาซ้า ๆ ตลอดระยะเวลาที่มดลูกหดรัดตัว
วางฝ่ามือทั้ง 2 ข้าง ที่เหนือหัวหน่าวของสตรีตั้งครรภ์ เมื่อมดลูกเริ่มหด รัดตัวให้ลูบฝ่ามือขึ้นไปที่ยอดมดลูกทางด้านข้างของครรภ์ทั้ง 2 ข้าง ให้มือมาเจอที่ยอดมดลูกแล้วลูบลงตรง ๆ ไปที่หัวหน่าว
การนวด
การนวดช่วยกระตุ้นต่อมใต้สมองให้หลั่งสารเคมีมีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีนเพิ่มขึ้นในร่างกาย
การนวดในระยะคลอดให้เน้นบริเวณไหล่ หลัง กระเบนเหน็บ และต้นขา
จะใช้เวลานวดนาน 30 นาทีต่อครั้ง
ในช่วงปากมดลูกเปิด 3-4 , 5-7 และ 8-10 เซนติเมตร
ะการนวดที่หน้าท้องด้วยน้ามันราข้าวผสมน้ามันหอมระเหย กลิ่นมะกรูด
ใช้ปลายนิ้วมือทั้ง 5 นิ้ว นวดวนเป็นวงกลมเล็ก ๆ แล้วขยายเป็นวงกลมใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ ด้วย จังหวะสม่าเสมอ เป็นเวลา 10 นาที
ระดับความปวดไม่แตกต่างกับกลุ่มที่ไม่ได้รับการนวด
การนวดแผนไทย
จะใช้มือทั้ง 2 ข้าง นวด กด บีบ คลึงบริเวณแนวไขสันหลัง หลังส่วนล่าง บั้น เอว ก้นกบ ต้นขาทั้ง 2 ข้าง ของผู้คลอด
ผู้คลอดที่ได้รับการนวดแผนไทย ใช้ระยะเวลาในระยะปากมดลูกเปิดเร็ว และระยะที่ 2 ของการคลอด ไม่แตกต่างกับกลุ่มที่ไม่ได้รับการนวดแผนไทย
การกดจุด
การกดจุดเป็นการกระตุ้นปลายประสาทขนาดใหญ่
ระยะคลอดจะกดจุดที่ตาแหน่ง
เอสพี6(SP6)ซึ่งอยู่เหนือข้อเท้า
แอลไอ4(LI4) หรือจุดเหอกู่(Hegu) ซึ่งอยู่ระหว่างนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ ส่วนแรก
ีแอล 67 (BL67) อยู่บริเวณปลายนิ้วก้อยของนิ้วเท้า
การส่งเสริมการยับยังการส่งกระแสประสาทจากไขสันหลังในระดับสมอง
การใช้ดนตรี
ดนตรีบาบัดในระยะ คลอดเพื่อลดปวด
ดนตรีช่วยเบี่ยงเบนจากความปวด
ดนตรีบรรเลงช่วยให้ผู้ฟังผ่อนคลายมากกว่าเพลงที่มีเนื้อร้องเสียงดนตรีเพื่อการผ่อนคลายควรมีระดับเสียง 45-50 เดซิเบล
การเพ่งและเบี่ยงเบนความสนใจ (attention-focusing and distraction)
ระยะปากมดลูกเปิด 1-4 ซม.
แนะนำให้เดิน พูดคุย หรืออ่านหนังสือ เป็นต้น
ระยะปากมดลูกเปิด 4-8 ซม.
แนะนำให้ตั้งใจจดจ่ออยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง นับลมหายใจเข้าออกขณะ มดลูกหดรัดตัว
ระยะปากมดลูกเปิด 8-10 ซม.
แนะนำให้หายใจลึกๆ เพ่งตามองที่จุดหนึ่งจุดใดอย่างแน่วแน่ ขณะมดลูกหดรัดตัว
สุคนธบำบัด
การใช้น้ำมันหอมระเหยจากพืชหอม สกัดจากดอกไม้ ใบไม้ เปลือกไม้ เนื้อไม้ ราก และเมล็ด
ส่วนใหญ่จะใช้ในรูปแบบการสูดดม
มีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการ
รับรู้ต่อความปวด
ช่วยลดความวิตกกังวล ความกลัว อาการคลื่นไส้อาเจียน อาการปวดระหว่างรอคลอด เพิ่มความแรงในการหดรัดตัว ของมดลูก และลดอัตราผ่าตัดคลอด
น้ำมันหอมระเหยกลิ่นลาเวนเดอร์ กลิ่นแฟรงคินเซน กลิ่นคลารีเสช
กลิ่นคาโมมาย
ร้อยละ 60 บอกว่าการใช้น้ำมันหอมระเหยช่วยให้อาการปวดทุเลาลง
การใช้เทคนิคการหายใจ (breathing technique)
วิธีหายใจในระยะปากมดลูกเปิดช้า
ระยะปากมดลูกเปิดไม่เกิน 3 เซนติเมตร ควร
แนะนำการหายใจแบบช้า (slow-deep chest breathing)
เมื่อมดลูกเริ่มหดรัดตัวให้ผู้คลอดหายใจยาวและลึกเพื่อล้างปอด 1 ครั้ง จากนั้นหายใจเข้าทางจมูกช้าๆ นับ 1-4 แล้วผ่อนลมหายใจออกทางปากช้าๆ นับ1-5
วิธีหายใจในระยะปากมดลูกเปิดเร็ว
หายใจแบบเร็วตื้นและเบา
(shallow accelerated decelerated breathing)
ใช้ในระยะปากมดลูกเปิด 4-7 เซนติเมตร
เมื่อมดลูกเริ่มต้นหดรัดตัว ให้ผู้คลอดหายใจยาวและลึกเพื่อล้างปอด 1 ครั้ง จากนั้นให้หายช้าๆ จนกระทั่งมดลูกหดรัดมากขึ้น
หายใจแบบหอบสลับเป่าปาก (shallow breathing with forced blowing out หรือ pant-blow breathing)
สำหรับระยะเปลี่ยนผ่าน (transitional phase) ปากมดลูกเปิด 8-10 เซนติเมตร
เมื่อมดลูกเริ่มหดรัดตัวให้หายใจยาวและลึกเพื่อล้างปอด 1 ครั้งจากนั้นหายใจเข้าและออกทางปากตื้นๆ เร็วๆ เบาๆติดต่อกัน 3 ครั้ง แล้วเป่าลมออก 1 ครั้ง ต่อเนื่องไป จนมดลูกคลายตัว
การเบ่งคลอด (pushing)
ให้ผู้คลอดเบ่งหลายๆ ครั้งขณะมดลูกหดรัดตัวแต่ละครั้ง หรือกลั้นหายใจนานมากกว่า 6 วินาทีขณะเบ่งคลอด
การส่งเสริมความสุขสบายในระยะคลอด
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
พยาบาลผดุงครรภ์ต้องดูแลสุขอนามัยผู้คลอดทั้งทางร่างกาย และปากฟันให้สะอาด โดยเฉพาะช่วงที่ งดน้ าและอาหาร
การช่วยให้ผู้คลอดเผชิญกับความปวดและความไม่สุขสบาย
วิธีที่ใช้ยา
ให้ยาลดปวดได้ตามแผนการรักษาของแพทย
ไม่ใช้ยา
มีหลากหลายวิธี อาจเลือกเพียงหนึ่งวิธี
หรือใช้หลายวิธีมาผสมผสานกัน
การจัดสิ่งแวดล้อม
การจัดสิ่งแวดล้อมให้มีความเป็นส่วนตัวมากเท่าที่จะทำได
การดูแลเพื่อบรรเทาความปวดในระยะคลอด โดยใช้ยาและไม่ใช้ยา
การจัดการความเจ็บปวดในระยะคลอดโดยการใช้ยา
แนวทางการจัดการยา Pethidine ( Meperidine )
ยา Pethidine
ให้ได้ทั้ง IV push และ IV dripและ IM
กรณี IV drip สารละลายที่สามารถผสมเพื่อเจือจาง Pethidine
Dextrose, Lactate Ringer
Dextrose in water
0.9 %
Sodium Chloride
การติดตามผล
ติดตามผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นตามา
.การให้ IV injection
ให้เจือจางความเข้มข้น อย่างน้อย10 mg/ml (0.1 – 1 mg / cc )
.ยาที่ไม่สามารถผสมกับ pethidine
Heparine Phenyloin Na HCO3 Barbiturate
Phenobabital
thiopental
Aminophylline
2 แนวทางการจัดการยา Fentanyl
เป็นยาบรรเทาปวดชนิดเสพติดที่มีประสิทธิภาพสูง
Fentanyl มีฤทธิ์กดการหายใจได้
ระยะเวลาการออกฤทธิ์บรรเทาปวด
ประมาณ 30 นาที ภายหลังให้ยา 100 mcg ฉีดไปครั้งเดียวในหลอดเลือดดำ
Fentanyl อาจทำให้
กล้ามเนื้อหดเกร็ง
ม่านตาหดตัว
หัวใจเต้นช้า
ทำให้เคลิบเคลิ้ม
.อาการข้างเคียงของยาต่อระบบประสาทส่วนกลางและส่วนปลายที่พบบ่อย
กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง
กล้ามเนื้อกระตุก
เวียนศีรษะ
ความผิดปกติทั่ว ๆ ไปของระบบ
หลอดเลือดหัวใจที่พบบ่อย
ความดันเลือดต่ำ หัวใจเต้นช้า
ควรเก็บไว้ในที่มีอุณหภูมิ 15 – 30 ◦C