Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Status Bed ridden, โซเดียมเป็นอิเล็กโทรไลต์สารประจุบวก (cation)…
Status Bed ridden
Hyponatremia
-
-
พยาธิสภาพ
เมื่อสัดส่วนโซเดียมต่อพลาสมาในร่างกายลดลง ความเข้มข้นนอกเซลล์จะต่ำกว่าในเซลล์ เป็นผลให้น้ำเข้าสู่เซลล์จึงบวม และมีการหลัง ADH ลดลง เพื่อให้ไตขับปัสสาวะออกมากขึ้นหลั่ง aldosterone เพิ่มขึ้นเพื่อเก็บกักน้ำให้ร่างกาทำให้เกิดภาวะโซเดียมตำ
-
-
-
-
UTI
พยาธิสภาพ
เกิดจากการทีแบคทีเรียหรือ E coli. ที่อยู่ในลําไส้เคลื่อนที่มาปนเปื้อนนบริเวณส่วนนอกของรูก้น จากนั้นเเบคทีเรียเข้าสู่บริเวณท่อปัสสาวะและเคลื่อนตัวไปตรงท่อทางเดินปัสสาวะเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ ท่อไต และไตทำให้เกิดการติดเชื้อ
Bed ridden 5 เดือน
ผู้ป่วยมีภาวะพร่องกิจวัตรประจำวันโดยส่วนใหญ่จะพบในผู้พิการหรือมีความผิดปกติของร่างกายมีภาวะไม่สมดุลน้ำและเกลือแร่ ขาดสารอาหาร เจ็บป่วยเป็นโรคเรื้อรังที่ทำให้ร่างกายเกิดอาการอ่อนเพลีย และผู้ป่วยพร่องกิจวัตรประจำวันเนื่องจากอาการเจ็บป่วยเรื้อรังจนไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ร่วมกับใส่สายสวนปัสสาวะแบบคาไว้ (Retain foley cath) ตามแผนการรักษาของแพทย์ ผู้ป่วยจึงมีโอกาสติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ และเชื้อ Enterococcus faecium เป็นเชื้อประจำถิ่นของระบบทางเดินอาหารและระบบสืบพันธุ์ ซึ่งใกล้กับระบบปัสสาวะและผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้จึงไม่สามารถทำความสะอาดได้ด้วยตนเองแบคทีเรียดังกล่าวมีการเคลื่อนที่จากลำไส้มาปนเปื้อน บริเวณส่วนนอกของรูก้นจากนั้นเข้าสู่บริเวณช่องเปิดของท่อปัสสาวะและเคลื่อนไปตามท่อปัสสาวะ เข้าสู่กระเพาะปัสสาวะท่อไตและไตทำให้เกิดการติดเชื้อ หรือการทำความสะอาดแต่ละครั้งทำได้ไม่ถูกต้องเช่นการเช็ดที่ไม่ถูกวิธี ก็มีโอกาสให้ติดเชื้อได้
-
-
-
การรักษา
การรักษาโรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนใหญ่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะเพื่อช่วยฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุ ใน
ผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
-
ภาวะแทรกซ้อน
-
-
-
ต่อมลูกหมากอักเสบ (prostatitis),
-
ข้อมูลผู้ป่วย
ผู้ป่วยเพศชายวัยสูงอายุ อายุ 62 ปี U/D DM HT CC : แน่นหน้าอก หายใจเหนื่อย 30 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล Dx : Hyponatremia C Aspirate pneumonia C UTI ภาวะโซเดียมในเลือดต่ำ ร่วมกับการสำลักอาหารเข้าทางเดินหายใจ ร่วมกับติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
PI :10 ปีก่อนมาโรงพยาบาล ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค HT และ DM เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลบำราศนราดูร
PI:5 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการทรุดลง และนอนติดเตียง จึงไม่ได้ไปรับยาโรค HT และ DM ทำให้ไม่ได้รับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ
PI:1 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยรับประทานอาหารไม่ได้ กลืนลำบาก กลืนได้แต่อาหารเหลว และผู้ป่วยหยุดรับประทานยาโรคเบาหวานและความดันเอง
PI:3 วันก่อนมาโรงพยาบาลผู้ป่วยมีอาการ สะอึก แน่นหน้าอก หายใจเหนื่อยหอบร่วมกับซึมลง ญาติจงนำตัวส่งโรงพยาบาลภายใน 30 นาทีโดยรถ Emergency Medical Services มารับนำส่งห้องฉุกเฉิน ณ วันที่ 13 สิงหาคม 2563
โซเดียมเป็นอิเล็กโทรไลต์สารประจุบวก (cation) ที่กระจายอยู่ในน้ำนอกเซลล์มากที่สุดดังนั้นโซเดียมจึงมีส่วนสำคัญต่อการควบคุมการกระจายของน้ำในร่างกายร่างกายได้รับโซเดียมจากอาหารเครื่องดื่มและสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำและขับถ่ายออกจากร่างกายทางอุจจาระเหงื่อและปัสสาวะปริมาณโซเดียมทั้งหมดในร่างกายถูกควบคุมด้วยฮอร์โมน aldosteroneดังนั้นการเปลี่ยนแปลงระดับความเข้มข้นของโซเดียมในเลือดจึงอาจแสดงว่าร่างกายมีภาวะเสียสมดุลน้ำหรือมีภาวะเสียสมดุลโซเดียมหรือมีภาวะเลือดสมดุลทั้งน้ำและโซเดียมภาวะเสียสมดุลโซเดียมโดยในผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อย จึงไม่ได้รับโซเดียมจากอาหารและเครื่องดื่มทำให้เกิดภาวะ โซเดียมในเลือดต่ำ
-
-
-
-