Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้คลอดเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด (โดยไม่ใช้ยา) และการ…
การดูแลผู้คลอดเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด (โดยไม่ใช้ยา) และการ ส่งเสริมสุขภาพในระยะคลอด
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวข้องกับความเจบ็ปวดในระยะคลอด
ทฤษฎีการยืดขยายของมดลูก (uterine stretch theories)
เชื่อว่าการคลอดจะเริ่มต้น เมื่อมดลูกมีการยืดขยาย ถึงจุดสูงสุด เกิดกระบวนการมีการท างานประสานกันของมดลูกกกส่วนบนและส่วนล่าง
ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนระหว่างEstrogen และ progesterone
เชื่อว่าการตั้งครรภ์จะมี estrogenในเลือดมากขึ้น กระตุ้นให้ Alpha receptor ทำงานมากขึ้นส่งผลให้กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัว และเกิดการเจ็บครรภ์คลอด
ทฤษฎีกระตุ้นฮอร์โมน Oxytocin
เชื่อว่าการคลอดเป็นภาวะเครียดของร่างกาย ท าให้ต่อมใต้สมองส่วนหลังของผู้คลอดหลั่ง Oxytocin ออกมามากขึ้นจนถึงระดับหนึ่ง Oxytocin receptor ในกล้ามเนื้อมดลูกก็จะท างานท าให้เกิดการหดรัดตัวของมดลูก
ทฤษฎีการหลั่งฮอร์โมน Prostaglandin
เชื่อว่าต่อมหมวกไตของทารกจะหลั่งสารที่กระตุ้นให้เยื่อหุ้มทารกชั้น chorion และ amnion รวมทั้ง decidual ของผู้คลอดสร้าง Prostaglandin ออกมา ส่งผลให้มีการหดรัดตัวของมดลูกและมีอาการเจ็บครรภ์คลอด ตามมา
การดูแลผู้คลอดเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอดโดยไม่ใช้ยา
1) การลดตัวกระตุ้น ความปวด (techniques reducing painful stimuli)
2) การกระตุ้นประสาทส่วนปลาย (techniques activating peripheral sensory receptors)
3) การส่งเสริมการยับยั้งการส่งกระแสประสาทจากไขสันหลังในระดับสมอง (techniques enhancing descending inhibitory pathways)
ปฏิกิริยาและการตอบสนองต่อความเจ็บปวดผู้คลอดและทารกในครรภ์ในระยะคลอด
1.ปฏิกิริยาและการตอบสนองต่อความเจ็บปวดในระยะคลอดของผู้คลอด
ปฏิกิริยาเฉพาะที่ มดลูกหดรัดตัวปล่อย prostaglandin กระตุ้นปลายประสาทรับ ความรู้สึกเจ็บปวด
ระดับไขสันหลัง มี reflex ท าให้กล้ามเนื้อลายและหลอดเลือดหดตัว
ระดับเหนือไขสันหลัง มีการกระตุ้น autonomic center ในไฮโปธาลามัสเร่งการ ท างานของประสาทซิมพาเธติคให้หลั่ง epinephrine เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ อัตราการเต้นของหัวใจอัตราการหายใจ และความดันโลหิตสูงขึ้
ระดับเปลือกสมอง ท าให้เกิดปฏิกิริยา ได้แก่ ปฏิกิริยาทางจิตท าให้วิตกกังวล กลัว เศร้า โกรธ มี เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้าน อารมณ์ และ ปฏิกิริยาทางจิตสรีระ ได้แก่ พฤติกรรมด้านน้ าเสียง ด้านการเคลื่อนไหว
2.ปฏิกิริยาและการตอบสนองต่อความเจ็บปวดด้านทารกในครรภ์
เกิด fetal distress ทารกชดเชยโดยการเพิ่ม cardiac output ถ้าขาดออกซิเจนนานอัตราการเต้นของหัวใจทารกมี ภาวะ late deceleration สมองของทารกอาจได้รับความกระทบกระเทือนจากการหดรัดตัวของมดลูก
3.การยับยั้งการส่งพลังประสาทความเจ็บปวดไปยังสมอง
1.การทำงานของใยประสาทการรับรู้ของใยประสาทขนาดใหญ่และขนาดเล็ก มีกลไกการ ปรับสัญญาณอยู่ในระดับไขสันหลังบริเวณ substantia gelationosa
2.การส่งสัญญาณจากเรติคูลาร์ฟอร์เมชั่นในก้านสมอง มีการปรับสัญญาณที่เข้าและออก รวมทั้ง ปริมาณความรู้สึกของพลังประสาทน าเข้าสู่สมองจากส่วนต่างๆของร่างกาย ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม ถ้าพลังประสาทน าเข้าไม่ว่าจะเป็นทางหูทางตามีจ านวนมากขึ้น
3.การส่งสัญญาณจากเปลือกสมองและธาลามัส พลังประสาทในระดับนี้ท างานเกี่ยวข้องกับ กระบวนการสติปัญญา (Cognitive) และความรู้สึกหรืออารมณ์ (affective)
4. แนวทางการบรรเทาการเจ็บครรภค์ลอดจากหลักฐานเชิงประจักษ์
1 ด้านจริยธรรมและสิทธิผู้คลอด เช่น ผู้คลอดทุกคนมสีิทธิที่จะได้รับการประเมินอาการปวดที่เหมาะสม และ ผู้คลอดทุกคนมีสิทธิในการได้รับการจัดการอาการปวดที่เหมาะสม
ด้านการประเมนิความเจ็บปวด
2.1 ประเมินอาการเจ็บครรภ์ตั้งแต่แรกรับผู้คลอดไว้ในหน่วยคลอด โดยใช้การ สอบถามระดับอาการเจ็บครรภ์ และการสังเกตพฤติกรรม
.2.2 ใช้เครื่องมือประเมินการเจ็บครรภ์ที่โดยใช้การรายงานอาการเจ็บครรภ์จาก ความรู้สึกของผู้คลอด และประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม/การเปลี่ยนแปลงทางสรีระขณะมีอาการเจ็บ ครรภ
แนวปฏิบัติในการบรรเทาการเจ็บครรภ์คลอดจากหลักฐานเชิงประจักษ์
วิธีการไม่ใช้ยา / ใช้ร่วมกับการใช้ยา
1.การเตรียมความรู้ก่อนคลอด (Childbirth education) (Level 3A)
2 โปรแกรมการให้ความรู้แก่เจ้าหน้าทใี่นทีมสุขภาพ ควรมีเนื้อหาเกี่ยวกับ (Level 4B)
3 การดูแลอย่างต่อเนื่อง (Labor Support)
4 การปรับท่าทางและการเคลื่อนไหวในระยะคลอด (Maternal movement and positioning)
.5 การนวดและการสัมผสั (Touch and massage)
6 การบำบัดด้วยน้ำ (Hydrotherapy-warm or cool) เป็นการใช้ความร้อนหรือความเย็น จากน้ำ
7 การผ่อนคลายหรือการหายใจ (Relaxation and breathing) (Level 3A) โดยการฝึก ใช้เทคนิคการหายใจ / การผ่อนคลายในการเตรียมคลอด
8 วิธีการ อื่นๆ
วิธีการใช้ยา มีข้อเสนอแนะจากงานวิจัยว่าหลังจากใช้ยาแก้ปวดแล้ว หากผู้คลอดไม่สามารถเผชิญ ความเจ็บปวดได้เหมาะสม ควรส่งเสริมให้ผู้คลอดน าเทคนิคบรรเทาปวดที่ใช้ได้ผลก่อนหน้านี้มาใช้ต่อเนื่อง เช่น เทคนิคหายใจ ผ่อนคลาย ปรับท่าทาง (Level 3B)
การดูแลเพื่อบรรเทาความปวดในระยะคลอดโดยไม่ใช้ยา
การลดตัวกระตุ้นความปวด
1.1 การเคลื่อนไหว เช่น การนั่ง การนั่งเก้าอี้โยก (rocking) การนั่งเอียงไปมาบน ลูกบอล (swaying)
1.2 ท่า
ท่าคุกเข่า (all four or hands and knees position)
ท่าศีรษะและลำตัวสูง (upright position)
ท่าพีเอสยูแคท (PSU Cat)
ท่าคุกเข่าโน้มตัวไปข้างหน้าโอบแขนและพักบนลูกบอลที่มีความสูงระดับไหล่
ท่านั่งยอง
การเคลื่อนไหวอย่างอิสระ
การกระตุ้นประสาทส่วนปลาย
1 การประคบร้อน และเย็น
.2 การบำบัดโดยใช้น้ำหรือวารีบำบัด
3 การสัมผัส การนวด และการกดจุด
การส่งเสริมการยับยังการส่งกระแสประสาทจากไขสันหลังในระดับสมอง
1 การใช้ดนตรี
2 การเพ่งและเบี่ยงเบนความสนใจ (attention-focusing and distraction)
3 สุคนธบำบัด
4 การใช้เทคนิคการหายใจ (breathing technique)
การจัดการความเจ็บปวดในระยะคลอดโดยการใช้ยา
ยา Pethidine / Fentanyl
มักให้ ในกรณีที่ผู้คลอดอยู่ในระยะ Active ปากมดลูกเปิด มากกว่า 3 ซ.ม.หรือในกรณีที่ผู้คลอดไม่สามารถเผชิญ ความเจ็บปวดได้เหมาะสมและต้องการยาแก้ปวดโดยพยาบาลผู้ดูแลจะรายงานแพทย์เพื่อพิจารณาให้ยาแก้ ปวด Pethidine หรือยา Fentanyl ในกรณีที่ผู้คลอดเป็นหอบหืด
มีข้อเสนอแนะจากงานวิจัยว่าหลังจากใช้ยาแก้ปวดแล้ว หากผู้คลอดไม่สามารถเผชิญความเจ็บปวดได้ เหมาะสม ควรส่งเสริมให้ผู้คลอดน าเทคนิคบรรเทาปวดที่ใช้ได้ผลก่อนหน้านี้มาใช้ต่อเนื่อง เช่น เทคนิคหายใจ ผ่อนคลาย ปรับท่าทาง (Level 3B)