Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การดูแลผู้คลอดเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด (โดยไม่ใช้ยา) …
บทที่ 2 การดูแลผู้คลอดเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด (โดยไม่ใช้ยา)
และการส่งเสริมสุขภาพในระยะคลอด
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวข้องกับความเจ็บปวดในระยะคลอด
สมาคมความปวดนานาชาติ (The International Association for the Study of Pain: IASP) ได้ให้ความหมายไว้ว่า
เป็นประสบการณ์ด้านการรับรู้และอารมณ์ที่ไม่พึงประสงค์
การเจ็บครรภ์เป็นการรับรู้ถึงความรู้สึกไม่สุขสบาย
การขาดเลือดของเนื้อเยื่อบริเวณรอบๆ กล้ามเนื้อจากมดลูก --> มีการขาดเลือดของปลายเส้นใยประสาทขนาดเล็ก
และกระตุ้นกลไกการรับสัญญาณตามเส้นใยประสาทรับความรู้สึก
จากนั้นส่งผ่านกระแสประสาทเข้าสู่เส้นประสาทไขสันหลังโดยเส้นใย A-delta และ C-fiber
โดยส่งไปบริเวณ Thoracic ที่ 12,11,10 และ Lumba 1 ไปสู่ระดับสมอง
จึงการรับรู้ต่อความเจ็บปวดจึงเพิ่มขึ้น
สามารถอธิบายได้จากทฤษฎีต่างๆ ในร่างกาย
ทฤษฎีการยืดขยายของมดลูก (uterine stretch theories)
การคลอดจะเริ่มต้น เมื่อมดลูกมีการยืดขยายถึงจุดสูงสุด
ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนระหว่างEstrogen และ progesterone
เกิดในระยะท้ายๆของการตั้งครรภ์ โดยมี estrogen ในเลือดมากขึ้น กระตุ้นให้ Alpha receptor ทำงานมากขึ้น
ทฤษฎีกระตุ้นฮอร์โมน Oxytocin
เป็นภาวะเครียด---> ต่อมใต้สมองส่วนหลังหลั่ง Oxytocin ออกมามากขึ้น
ทฤษฎีการหลั่งฮอร์โมน Prostaglandin
ปฏิกิริยาและการตอบสนองต่อความเจ็บปวดผู้คลอดและทารกในครรภ์ในระยะคลอด
2.1 ปฏิกิริยาและการตอบสนองต่อความเจ็บปวดในระยะคลอดของผู้คลอด
ปฏิกิริยาเฉพาะที่
ระดับไขสันหลัง
reflex ทำให้กล้ามเนื้อลายและหลอดเลือดหดตัว
ขาดเลือดมาเลี้ยง ---> เกิด anaerobic metabolism --->เกิด lactic acid และ local acidosis
ทำให้เจ็บปวดกล้ามเนื้อระบบทางเดินอาหาร ระบบขับถ่ายลดลง
ระดับเหนือไขสันหลัง
กระตุ้น autonomic center เร่งการทำงานของประสาทซิมพาเธติคให้หลั่ง epinephrine เพิ่มขึ้น
อัตราการเต้นของหัวใจอัตราการหายใจและความดันโลหิตสูงขึ้น
ถ้าเจ็บมากและเจ็บนาน
อัตราการเต้นของหัวใจและความดันโลหิตลดลง อาจทาให้ช็อคได้
ระดับเปลือกสมอง
ปฏิกิริยาทางจิต
ปฏิกิริยาทางจิตสรีระ
2.2 ปฏิกิริยาและการตอบสนองต่อความเจ็บปวดด้านทารกในครรภ์
ขณะเจ็บครรภ์ เกิด fetal distress ทารกชดเชยโดยเพิ่ม cardiac output
ถ้าขาด O2 นาน อัตราการเต้นของหัวใจมีภาวะ late deceleration สมองทารกได้รับความกระทบกระเทือนจากการหดรัดตัวของมดลูก
การยับยั้งการส่งพลังประสาทความเจ็บปวดไปยังสมอง
3.1 การทางานของใยประสาทการรับรู้ของใยประสาทขนาดใหญ่และขนาดเล็ก
3.2 การส่งสัญญาณจากเรติคูลาร์ฟอร์เมชั่นในก้านสมอง
3.3 การส่งสัญญาณจากเปลือกสมองและธาลามัส
แนวทางการบรรเทาการเจ็บครรภ์คลอดจากหลักฐานเชิงประจักษ์
ด้านจริยธรรมและสิทธิผู้คลอด
จัดให้มีการดูแลสนับสนุนขณะรอคลอดตามสิทธิผู้คลอดดังต่อไปนี้
สิทธิที่จะได้รับการประเมินอาการปวด
สิทธิในการได้รับการจัดการอาการปวด
สิทธิที่จะได้รับความรู้เกี่ยวกับการเจ็บครรภ์คลอด
กระบวนการคลอด และวิธีการบรรเทาการเจ็บครรภ์
ด้านการประเมินความเจ็บปวด
ประเมินอาการเจ็บครรภ์ตั้งแต่แรกรับ
ใช้เครื่องมือประเมินการเจ็บครรภ์โดยใช้การรายงานอาการเจ็บครรภ์
Numeric Rating Scale
PBI (present behavioral intensity) + Pain score
แนวปฏิบัติในการบรรเทาการเจ็บครรภ์คลอดจากหลักฐานเชิงประจักษ์
วิธีการไม่ใช้ยา / ใช้ร่วมกับการใช้ยา
การเตรียมความรู้ก่อนคลอด (Childbirth education)
เนื้อหาความรู้ที่ให้แก่ผู้คลอด ผู้ดูแล/ญาติและครอบครัว
โปรแกรมการให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ในทีมสุขภาพ
การดูแลอย่างต่อเนื่อง (Labor Support)
การปรับท่าทางและการเคลื่อนไหวในระยะคลอด (Maternal movement and positioning)
รายที่ปากมดลูกเปิดน้อย (latent phase) ไม่มีข้อห้าม
ขณะรอคลอดปรับให้อยู่ในท่า Upright โดยนั่งพิง/ท่าคลาน
รายที่ปากมดลูกเปิด 6-8 ซม. ปรับให้ยู่ในท่านั่งดีกว่าท่านอน เปลี่ยนท่าทุก 30-60 นาที
รายที่ปากมดลูกเปิด 7-10 ซม. ไม่มีข้อห้ามควรปรับอยู่ในท่ายืน ประมาณ 30 นาที
การนวดและการสัมผัส (Touch and massage)
การบำบัดด้วยน้ำ (Hydrotherapy-warm or cool)
การประคบร้อน
การประคบเย็น
การผ่อนคลายหรือการหายใจ (Relaxation and breathing)
เทคนิคหายใจ (Breathing)
เทคนิคผ่อนคลาย (Relaxation)
วิธีการอื่นๆ
ปรับสภาพแวดล้อมในห้องรอคลอด
ส่งเสริมความเป็นส่วนตัว
วิธีการใช้ยา
ใช้ยาแก้ปวด
การดูแลเพื่อบรรเทาความปวดในระยะคลอดโดยไม่ใช้ยา
การลดตัวกระตุ้นความปวด
การเคลื่อนไหว
นั่ง, นั่งเก้าอี้โยก, นั่งเอียงไปมาบนลูกบอล,นั่งเก้าอี้ที่กลับหลังและซบหน้าบนพนักพิงเก้าอี้,นั่งยอง,เดิน และการเต้นราช้า ๆ
ท่า
ท่าศีรษะและลาตัวสูง (upright position)
ท่าคุกเข่า (all four or hands and knees position)
ท่าพีเอสยูแคท (PSU Cat)
ท่าคุกเข่าโน้มตัวไปข้างหน้าโอบแขนและพักบนลูกบอลที่มีความสูงระดับไหล่
ท่านั่งยอง
การเคลื่อนไหวอย่างอิสระ
ลุกนั่ง
นั่งเก้าอี้โยก
นั่งโยกบนลูกบอล
เดิน
เต้นรำช้า ๆ
การกระตุ้นประสาทส่วนปลาย
การประคบร้อน และเย็น
ประคบความร้อนบริเวณท้องส่วนล่าง ขาหนีบ และฝีเย็บ
ประคบเย็นทาบริเวณหลัง ก้น และฝีเย็บ
การบำบัดโดยใช้น้ำหรือวารีบำบัด
แช่ในน้ำธรรมดาหรือน้ำอุ่น
การสัมผัส การนวด และการกดจุด
การลูบ
นวดเพียงเบา ๆ ใช้ปลายนิ้วมือลูบเป็นวงกลมด้วยจังหวะสม่าเสมอ ไม่ออกแรงกดกล้ามเนื้อ
ตำแหน่งที่ลูบ คือ บริเวณท้องหรือหน้าขา
การนวด
เน้นบริเวณไหล่ หลัง กระเบนเหน็บ และต้นขา
ใช้เวลานวดนาน 30 นาทีต่อครั้ง
การกดจุด
จุดเหอกู่ (Hegu)
ระหว่างนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ส่วนแรก
บีแอล 67 (BL67)
บริเวณปลายนิ้วก้อยของนิ้วเท้า
ใช้น้าหนัก 3-5 กิโลกรัม กดนาน 10 วินาที ปล่อย 2 วินาที รวมเวลา 20-30 นาที
เอสพี 6 (SP6)
เหนือข้อเท้า
การส่งเสริมการยับยั้งการส่งกระแสประสาทจากไขสันหลังในระดับสมอง
การใช้ดนตรี
เสียงดนตรีเพื่อการผ่อนคลายควรมีระดับเสียง 45-50 เดซิเบล
แบ่งเป็นสองกลุ่ม
กลุ่มที่ให้ฟังดนตรีบรรเลงสากล นุ่มและไพเราะ จังหวะเสียง 60-80 ครั้ง/นาที
กลุ่มควบคุม พบว่ากลุ่มที่ฟังดนตรีบรรเลงสากลมีความปวดและความตึงเครียดน้อยกว่ากลุ่มควบคุม
การเพ่งและเบี่ยงเบนความสนใจ (attention-focusing and distraction)
ระยะปากมดลูกเปิด 1-4 ซม.
ให้เดิน พูดคุย หรืออ่านหนังสือ
ระยะปากมดลูกเปิด 4-8 ซม.
ให้ตั้งใจจดจ่ออยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง นับลมหายใจเข้าออกขณะมดลูกหดรัดตัว
ระยะปากมดลูกเปิด 8-10 ซม.
ให้หายใจลึกๆ เพ่งตามองที่จุดหนึ่งจุดใดอย่างแน่วแน่ ขณะมดลูกหดรัดตัว
สุคนธบาบัด
ใช้น้ามันหอมระเหยจากพืชหอม สกัดจากดอกไม้ ใบไม้ เปลือกไม้ เนื้อไม้ ราก และเมล็ด
การใช้เทคนิคการหายใจ (breathing technique)
วิธีหายใจในระยะปากมดลูกเปิดช้า
ปากมดลูกเปิดไม่เกิน 3 เซนติเมตร
ให้ผู้คลอดหายใจยาวและลึกเพื่อล้างปอด 1 ครั้ง จากนั้นหายใจเข้าทางจมูกช้าๆ นับ 1-4 แล้วผ่อนลมหายใจออกทางปากช้าๆ นับ 1-5
วิธีหายใจในระยะปากมดลูกเปิดเร็ว
หายใจแบบเร็วตื้นและเบา
ใช้ในระยะปากมดลูกเปิด 4 7 เซนติเมตร
หายใจแบบหอบสลับเป่าปาก
ปากมดลูกเปิด 8-10เซนติเมตร
การเบ่งคลอด (pushing)
เบ่งคลอดแบบวัลซัลวา (valsalva pushing)
เบ่งหลายๆ ครั้งขณะมดลูกหดรัดตัวแต่ละครั้ง/กลั้นหายใจนาน>6 วินาทีขณะเบ่งคลอด
เบ่งคลอดแบบเปิดกล่องเสียง (opened glottis pushing)
ออกเสียงเบาๆ/มีลมเล็ดลอดขณะเบ่งได้ และใช้เวลาเบ่งแต่ละครั้งนาน 4–8 วินาที
การส่งเสริมความสุขสบายในระยะคลอด
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
ทั้งทางร่างกาย และปากฟันให้สะอาด
เช็ดตัว เปลี่ยนเสื้อผ้า
การช่วยให้ผู้คลอดเผชิญกับความปวดและความไม่สุขสบาย
วิธีที่ใช้ยา
และไม่ใช้ยา
การดูแลสิ่งแวดล้อม
กั้นม่าน
ปูเตียงด้วยผ้าสะอาด แห้ง ให้เรียบตึง
มีผ้ารองเลือดหรือน้าคร่าใต้ก้น
เปลี่ยนผ้าให้ทุกครั้งที่ผ้าชุ่ม
การจัดการความเจ็บปวดในระยะคลอดโดยการใช้ยา
แนวทางการจัดการยา Pethidine ( Meperidine )
การเก็บรักษา
เก็บไว้ในลิ้นชัก มีกุญแจล็อค
ระบุชื่อ – สกุล เลขที่โรงพยาบาล และจำนวนที่ใช้
ตรวจนับทุกเวร
ติดป้าย ยาอันตรายที่ซองยา
เก็บแยกกับยา MO
การสั่งใช้ยาและการคัดลอกยา
ยืนยันความถูกต้อง พร้อมประวัติโรคหืดหอบ
แพทย์เป็นผู้สั่งยา
การรับคำสั่ง การรักษา
ยืนยันความถูกต้องและตรวจสอบประวัติ
ไม่รับคำสั่งปากเปล่า
ปฏิบัติตามแนวทางการรับคาสั่งยาอันตราย
ไม่รับคำสั่งกรณีแพทย์เขียน order ไม่ถูกต้อง
การเตรียมยา
จัดเตรียมยา โดยมีการ double check ชื่อยา ขนาด
ตรวจสอบชื่อ สกุล ชื่อยา ขนาดยา จาก order
จัดเตรียมยาโดยเจือจางด้วย sterile water for injection
ตรวจสอบ Ampule ยาอีกครั้ง ก่อนนำไปฉีด
ไม่เตรียมยา Pethidine ผสมกับยาอื่น
การบริหารยา
ตรวจสอบชื่อ – สกุล ผู้คลอด
ซักถามประวัติการแพ้ยา
ให้คำแนะนำ
ตรวจสอบความถูกต้อง
ดูแลให้ยา pethidine 50 mg IV push ช้าๆ
สังเกต / ซักถามอาการ
การติดตามผล
ติดตามประสิทธิผลของการให้ยา
ประเมินอัตราการหายใจ /ชีพจรหลังให้ยา
เฝ้าระวังป้องกัน การตกเตียง
ควรเตรียมยา Narcan (Naloxone) ให้พร้อมใช้ทันที
บันทึกการให้ยา Pethidine
บันทึกการใช้ยา
แนวทางการจัดการยา Fentanyl
การเก็บรักษา
เก็บไว้ในลิ้นชัก กุญแจล็อค
บันทึกการใช้ โดยระบุชื่อ สกุล
ตรวจนับทุกเวร
การสั่งใช้ยาและการคัดลอกยา
แพทย์ยืนยันความถูกต้อง ห้ามให้ผู้ป่วยที่แพ้ มอร์ฟิน
แพทย์ผู้สั่งยา
การรับคาสั่งการรักษา
ยืนยันความถูกต้อง ตรวจสอบประวัติแพ้
ไม่รับคำสั่งปากเปล่า
ไม่รับคำสั่งกรณีแพทย์เขียน order ไม่ถูกต้อง
การเตรียมยา
พยาบาลผู้รับ order จัดเตรียมยา โดยมีการ check
ตรวจสอบชื่อ สกุล จาก order และใบคำสั่ง
จัดเตรียมยาโดยเจือจาง sterile water for injection Fentanyl
ตรวจสอบ Ampule ของยาอีกครั้ง ก่อนนาไปฉีด
ตรวจสอบการเตรียมยาอีกครั้ง โดยพยาบาลอีก 1 คน
ไม่เตรียมยา Fentanyl ผสมกับยาอื่น
การบริหารยา
ตรวจสอบชื่อ – สกุล ผู้คลอด
ซักถามประวัติการแพ้ยามอร์ฟิน
ให้คำแนะนำ
ให้ผู้ป่วยหลับตาขณะ push ยา
ให้ยาแบบ IV push ช้า ๆ
สังเกต / ซักถามอาการ
การติดตามผล
ติดตามประสิทธิผลของการให้ยา
ประเมินอัตราการหายใจ / ชีพจรหลังให้ยา
เฝ้าระวังป้องกัน การตกเตียง
เตียมยา Narcan (Naloxone)
การบันทึก
แพทย์
แพทย์เขียน order ในใบแผนการรักษา
เขียนใบสั่งยา และใบสั่งยาพิเศษอย่างละ 1 ใบ
พยาบาล
บันทึกการให้ยา Fentanyl
บันทึกการใช้ยาและตรวจสอบบันทึกข้อมูลผู้ป่วย
นำใบสั่งยา ไปเบิกยาคืนได้ที่ห้องดมยา