Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การดําเนินการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางอย่างมีประสิทธิภาพ - Coggle…
บทที่ 6 การดําเนินการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางอย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์ บทนี้เขียนขึ้นเพื่อให้ผู้อ่าน (นักศึกษาครู) สามารถ
ทราบว่าควรจะใช้วิธีสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางนี้เมื่อไร
ตระหนักถึงทักษะที่นักศึกษาครูจําเป็นต้องมีเพื่อใช้ในการจัดการชั้นเรียนแบบครูเป็นศูนย์กลาง
ทราบวิธีการวางแผนและดําเนินการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางในห้องเรียนได้
บทนํา
ครูที่มีประสิทธิภาพจะต้องสามารถใช้กลยุทธ์ในการสอนได้อย่างหลากหลายเช่น วันนี้ครูอาจให้ผู้เรียน * ชมวิดีทัศน์แล้วตามด้วยการอภิปรายในชั้นเรียน เล่นเกมเกี่ยวกับบทเรียน หรือฟังเพื่อนร่วมชั้นนําเสนอรายงาน
หน้าชั้นเรียน ส่วนวันถัดมาครูก็อาจให้ผู้เรียนแสดงบทบาทสมมติ โต้วาที่หรือทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับบทเรียนโดย ใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งจะทําให้เกิดความหลากหลายและเกิดความสนุกสนานในการเรียนการสอนได้
1.การสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางคืออะไร?
คือการให้ครูเป็นผู้ควบคุมการเรียนการสอนโดยตรงใน ขณะที่การสอนแบบให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางคือการปล่อยให้ผู้เรียนค้นคว้าหาความรู้และแก้ปัญหาด้วยตนเอง
กลยุทธ์ในการสอนประกอบด้วย 3 ขั้นตอนด้วยกันคือ
2.ระหว่างการสอน
" อธิบายวัตถุประสงค์ของบทเรียน
" จัดระเบียบข้อมูล
" นําเสนอข้อมูลใหม่
1.ก่อนการสอน
ครูต้องเตรียมการนําเสนอโดยใช้แนวทางดังต่อไปนี้ กําหนดหัวข้อที่ตรงกับแผนการจัดการเรียนรู้หรือประมวลวิชา
กําหนดวัตถุประสงค์ในการเรียนซึ่งเป็นสิ่งที่ครูต้องการให้ผู้เรียนได้จากการเรียน (เช่น ผู้เรียน - สามารถบอกชื่อส่วนต่างๆ ของพืชได้)
พิจารณาถึงความรู้และทักษะที่ผู้เรียนมีอยู่ก่อนซึ่งสอดคล้องกับหัวข้อที่จะเรียน (เช่น ตรวจสอบจาก ประมวลวิชาของหลายปีก่อนหน้านี้)
" เลือกและทบทวนเนื้อหาให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการเรียน
" เลือกรูปแบบในการสอนให้เหมาะกับผู้เรียนโดยเชื่อมโยงความรู้ที่ผู้เรียนมีอยู่เดิมเข้ากับความรู้ใหม่ ที่ผู้เรียนจะได้รับ ซึ่งอาจเป็นรูปแบบของการบอกเล่าหรือการตั้งคําถามให้ผู้เรียนตอบเพื่อให้การนําเสนอ ดําเนินต่อไปได้
จัดระเบียบข้อมูลให้สอดคล้องกับแผนการสอน
3.ภายหลัง
การสอน
การนําเสนอภายหลังการสอนเป็นการตรวจสอบว่าผู้เรียนเข้าใจในความรู้ใหม่ที่ได้เรียนไปหรือไม่ ครู ตั้งคําถามภายในชั้นเรียน สั่งการบ้าน ทดสอบและใช้วิธีการอื่น ๆ ได้ การอภิปรายในชั้นเรียนก็เป็นวิธีหนึ่ง ที่มีประสิทธิภาพในการขยายขอบเขตความคิดของผู้เรียน
พึงระลึกไว้ว่าครูควรนําเสนอการสอนอย่างมีชีวิตชีวาโดยอาจสอดแทรกอารมณ์ขันเข้าไปในการสอน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนุกสนานและจดจําบทเรียนได้ดีขึ้น
การนําเสนอ
คือ การถ่ายทอดข้อมูลจากผู้ที่มีความรู้มากกว่าไปสู่ผู้ที่มีความรู้น้อยกว่าเพื่อให้ผู้ที่เกิด ความเข้าใจในข้อเท็จจริง แนวคิดและคําอธิบาย การนําเสนอนี้ครอบคลุมถึงทุกขั้นตอนของกลยุทธ์ในการสอน
การสภาพแวดล้อมในการเรียนสําหรับการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลาง
ทักษะที่จําเป็นนี้ได้แก่
1.ความสามารถของครูที่สามารถรับรู้ได้ตลอดเวลาว่าเกิดอะไรขึ้นภายในชั้นเรียนบ้างเสมือนหนึ่งว่าครู ..มีตาอยู่ด้านหลังด้วยนั้นเอง เมื่อผู้เรียนรู้ว่าครูเป็นเช่นนี้แล้ว ผู้เรียนก็จะไม่กล้าเล่นซนในห้องเรียนอีก
3.การดึงความสนใจของผู้เรียนให้จดจ่ออยู่กับบทเรียนได้ตลอดชั่วโมงเรียนโดยการจัดที่นั่งของผู้เรียน จะสับกลุ่มเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชั้นเรียน ตั้งคําถามให้ผู้เรียนตอบเพื่อสังเกตความตั้งใจของ เรียนหรือการถามคําถามผู้เรียนคนหนึ่งแล้วให้เพื่อนของผู้เรียนคนอื่น ๆ ตั้งใจฟังและวิเคราะห์ว่าถูกหรือผิด
นอกจากนี้ครูยังต้องคํานึงถึงสิ่งที่จะช่วยให้ครูจัดการกับสภาพแวดล้อมในห้องเรียนได้อย่างประสบ ความสําเร็จด้วยซึ่งก็คือ
1.การตั้งกฎเพื่อควบคุมความประพฤติของผู้เรียน การพูดคุยและการเคลื่อนไหวระหว่างที่ครูกําลัง สอนอยู่และกิจกรรมในชั้นเรียน ความเคร่งครัดของกฎนี้ขึ้นอยู่กับระดับของการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนที่ครู ต้องการให้เป็น
2.การกําหนดกระบวนการเพื่อสร้างกิจกรรมของผู้เรียนซึ่งจะช่วยส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ของผู้เรียน
ได้
3.การควบคุมการเรียนการสอนให้ดําเนินไปอย่างราบรื่นตลอดชั่วโมงเรียน
4.ใช้เวลาในการเรียนการสอนให้คุ้มค่าและประสบความสําเร็จ
• การขจัดความเบื่อหน่ายของผู้เรียน เมื่อผู้เรียนมีความสนใจในบทเรียนน้อยลง พวกเขาก็จะมีส่วน ร่วมกับการเรียนน้อยลงด้วยเช่นกัน ผู้เรียนจะเริ่มง่วงนอน หมุนดินสอเล่นหรือรบกวนสมาธิเพื่อนขอผู้เรียนคน อื่น ๆ ดังนั้นครูจึงต้องจัดกิจกรรมที่ทําให้ผู้เรียนรู้สึกท้าทายและอยากจะทําให้สําเร็จเพื่อขจัดความเบื่อหน่าย นั้นเสีย
2.ความสามารถของครูในการมีส่วนร่วมในเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายในเวลาเดียวกัน - การจัดการเรียนการสอนให้ดําเนินไปอย่างราบรื่นตลอดชั่วโมงเรียน
2.การสอนโดยตรง
การสอนโดยตรงมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจความรู้และทักษะขั้นพื้นฐานได้อย่างเป็นขั้นตอน
2.ระหว่างการสอน
" นําเสนอวัตถุประสงค์ของบทเรียน
" ให้ข้อมูลหรือทักษะอย่างถูกวิธี
" ให้คําแนะนําในการปฏิบัติ
1.ก่อนการสอน
ก่อนจะเริ่มการสอนโดยตรง ครูจะต้องเตรียมแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวทางดังต่อไปนี้
" กําหนดวัตถุประสงค์ในการเรียนให้สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้เรียน
" วิเคราะห์เนื้อหาในแต่ละส่วนเพื่อให้ครูดําเนินการสอนได้อย่างเป็นระบบ
3.ภายหลัง
การสอน
ภายหลังการสอนครูอาจเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติเป็นรายบุคคลโดยยก
ดยฝึกภายในห้องเรียนหรือให้ ไปทําเป็นการบ้าน จากนั้นครูอาจใช้วิธีทดสอบเพื่อประเมินความรู้หรือทักษะของผู้เรียนได้
3.การสอนแนวคิด
1.ก่อนการสอน
" เลือกแนวคิดที่จะสอนจากแผนการเรียนหรือประมวลรายวิชา
" วิเคราะห์แนวคิด
" จัดรูปแบบการใช้และไม่ใช้ตัวอย่างประกอบจากง่ายไปหายาก
"ระบุแนวคิด
" เลือกการใช้หรือไม่ใช้ตัวอย่างประกอบ
" ตัดสินว่าจะใช้การสอนแนวคิดรูปแบบใด
3.ภายหลัง
การสอน
ครูอาจต้องการประเมินความเข้าใจของผู้เรียนถึงแนวคิดที่ได้เรียนไปโดยให้ผู้เรียน าย หรือทําแบบทดสอบ นอกจากนี้แค่ครูขอให้ผู้เรียนอธิบายแนวคิดให้ฟัง ครูก็อาจประเมิน เขียน อธิบาย หรือทําแบบ ความสามารถของผู้เรียนได้ด้วยเช่นกัน
2.ระหว่างการสอน
ระบุแนวคิดพร้อมยกตัวอย่างหรือไม่ยกตัวอย่างประกอบ
" ทดสอบเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจแนวคิด
• นําเสนอวัตถุประสงค์ของบทเรียน "
" วิเคราะห์ความคิดและการเรียนรู้ของผู้เรียน