Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บท 1 หลักการพื้นฐาน ลักษณะและ ขอบเขตของงานการพยาบาล สุขภาพจิตและจิตเวช …
บท 1
หลักการพื้นฐาน ลักษณะและ
ขอบเขตของงานการพยาบาล
สุขภาพจิตและจิตเวช
หลักการพื้นฐาน
หลักการพยาบาล
-เน้นให้การพยาบาลและการบำบัด
-เสียงต่อการเกิดปัญหา ผู้ที่มีปัญหาทางสุขภาพจิตและ
จิตเวช บุคคลปัญญาอ่อน และผู้ติดสารเสพติด
-ครอบคลุมการส่งเสริม ป้องกันบำบัด รักษา และฟื้นฟู
คุณลักษณะของพยาบาล
ให้การยอมรับ (acceptance)
ไม่อติ/ไม่ตำหนิ/สนใจพฤติกรรม
ให้ความเคารพ (respect)
เรียกชื่อถูก/เคารพแนวแก้/ไม่ใช้อำนาจกับ pt
ไม่ตัดสินผู้อื่น (nonjudgmental)
ไม่ตัดสินถูกผิด/ดีเลว
ท่าที่อบอุ่น (warmth)
เข้าใจความรู้สึก (Empathy)
Sympathy ผู้บำบัดเข้าร่วมความรู้สึก แยกไม่ได้ รู้สึกร่วม
ความจริงใจ (authenticity)
ความสม่ำเสมอ (Consistency)
ความสอดคล้อง (congruency)
ความอดทน (patience)
การใช้อารมณ์ขัน (humor)
เปิดเผยตนเอง (self-disclosure)
เชื่อถือได้ (trustworthiness)
ต่าง การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด โดยใช้ตนเองเป็นเครื่องมือ
ความหมาย
-เน้นกระบวนการสร้างสัมพันธภาพ
-ดูแลช่วยเหลือและฟื้นฟูสภาพ
-ช่วยหลือแพทย์กระทาํ การรักษาโรคทางจิต
ขอบเขต
มิติการพยาบาล 4 มิติ
ป้ องกนั สุขภาพจิต
บาํ บดั รกั ษา
ส่งเสริมสุขภาพจิต
ฟ? ื นฟูสุขภาพจิต
ระดบั การปฏบิ ตั งิ าน 3 ระดบั
ไม่อสิ ระ ตาม คส แพทย์
ก,งึ อสิ ระ ให้ยาเมื่อจำเปนที่มี คส แล้ว/ทำงานร่วมสห
อิสระ จัดสิ่งแวด/กลุมบำบัด/สัมพันบำบัด
ระบบและการดูแลอย่างต่อเนื่อง
กระบวนการดูแล
ประมิน คตก/ปรึกษารายบุคคล/รักษาตามอาการ/สหวิชาชีพ
ผลลัพ
กินยา/ร่วมกิจ/ใช้สารเสพ/ADL/คุณภาพชีวิต/อาการกำเริบ
ก่อนการจำ
หน่ายผู้ป่วย
เตรียม ผป/ครอบครัว/ชุมชน/ทีม
เป้ าหมาย
-เพื่อยกระดบั สขุ ภาพจติ และการลดจาํ นวนผปู้ ่ วย
-เนน้ การป้ องกนั ปัญหาสุขภาพจิต
ระดับของการ ป้องกันสุขภาพจิต
Secondary
ป้ องกันความรุนแรงในกลุ่มมีปัญหา ลดระยะเวลาการดาํ เนินโรค Reduce duration
Early detection
• Referring
การคัดกรอง (Screening) = การคัดแยกผู้ที่มีปัญหา
ทางสุขภาพจิตเพื่อการส่งต่อเพื่อตรวจวินิจฉัย
แบบประเมินความเครียด ปวดหัว ปวดตึงกล5ามเนื้อ ปวดหลัง โกรธ หงุดหงิดสัมพันธJกับ stresso
GHQ : General Health questionnaire คัดกรองป\ญหาทางสุขภาพจิต
ประชาชนในชุมชน ป\ญหาสุขภาพจิต เช+นการดำเนินชีวิต การปรับตัว)
แบบประเมินความวิตกกังวล (อึดอัด ไม่สบายใจ ไม่ปลอดภัย ตื่นตระหนก นอนไม่หลับ คิดมาก)
ซึมเศร้า 2Q 9Q
ฆ่าตัวตาย 9Q
BPRS ซึมเศร้า Hallucination พฤติกรรมผิดปกติ
CIWA ประเมิน alcohol withdrawal
MMSE Screen cognitive
impairment ประเมินภาวะสมองเสื่อม
PTSD ความคิดความรู5สึกที่เกิดขึ้นหลังได5รับผลกระทบ
Tertiary
ป้ องกันความเสื่อมสภาพ ความพิการ การเจ็บป่วยซํJา Reduce impairment
ส่งเสริมศกั ยภาพทีเหลืออยู่
Primary
ป้องกันความเจ็บป่วย ลดอุบัติการณ์ Reduce incidence
การส่งเสริมทุกช่วงวยั • การจดั กิจกรรในกลุ่ม
บทบาท
พื้นฐาน
ตัวแทนสังคม//กิจกรรม/กล้าแสดง/ออกลังกาย
ครู//สอนกิจกรรม/บอกเล่า/สอนการเล่น
ตัวแทนแม่//อาหาร/ห้ามปราม/ประคับคองจิตใจ
ปรึกษาแนะนำ//รับฟัง/แนะ/ช่วย
จัดสิ่งแวดล้อม
เทคนิคเฉพาะ พยบ จิต
สูง
ซบั ซอ้ น ยุ่งยาก ผูน้ ำ การวิจัย
สูงเฉพาะ ป โท
เป็นที่ปรึกษา/ติดต่อให้ความร่วมมือ/บำบัดเบื้องต้น/ผู้นำบำรักษา
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต
2551
คุม้ ครองผูที้,มี
ปัญหาสุขภาพจิตให้ได้รับการบำบัดรักษา
ป้ องกันอันตรายอันเกิดจากผู้ป่ วย
จิตเวชที.มีต่อตนเอง ผู้อื.นและสังคม
2562
คุ'มครอบสิทธิของบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิต การ
เผยแพร>ข'อมูล สิ่งพิมพ@ สื่ออิเล็กทรอนิกส
ทำให'เกิด
ทัศนคติไม>ดีต>อผู'มีความผิดปกติทางจิต เกิดความรังเกียจ
ช>วยเหลือด'านการส>งเสริม ปKองกัน และ
ควบคุมปMจจัยคุมคาม
หลักการ
ฟตก จะเปลี่ยนเมื่อมี exp ทางอารม แต่ไม่เปลี่ยนด้วยเหตุผล
เลี่ยงเพิ่มความกังวล Pt
ให้ลังใจท่าทีเหมาะ
สังเกต ด้วย ทำไม จึง....
สม่ำเสมอช่วยมั่นคงจิตใจ
สัมพัน จิงใจ ถูกต้องแบบวิชาชีพ
เข้าใจตนเป็นเครื่อง
คำนึงบุคคลและปัญหา ไม่ควบคุม
ผป ต้องการยอมรับ
กิจวัตร อธิบายตามระดับ/สภาพ Pt
เลี่ยงคำพูด/ใช้ลังบังคับ
ปรับได้ แต่หลักการคงเดิม
ทัศนคติ
บวก ส่งเสริม
ลบ Stigma ตราบาป