Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การดำเนินการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง, นางสาวอัสฟารีนา นาแว รหัส…
บทที่ 7 การดำเนินการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
โดยอาศัย
สิ่งที่พวกเขาได้เรียนรู้
วิธีการที่พวกเขาได้เรียนรู้
เวลาที่พวกเขาได้เรียนรู้
สภาพแวดล้อมของการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
กิจกรรมที่เสริมสร้างความร่วมมือ
การมอบหมายงานให้ผู้เรียนทำเพื่อช่วยผลักดันให้พวกเขาก้าวไปถึงเป้าหมายในการเรียน
การค้นพบสติปัญญาของตนเอง
กิจกรรมที่ส่งเสริมการคิด
กิจกรรมที่ก่อให้เกิดการฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนาทักษะในการเรียนรู้
การประดิษฐ์ชิ้นงานของผู้เรียน
การเชื่อมโยงกิจกรรมเข้ากับงานที่มอบหมายให้ผู้เรียนทำ
ผู้เรียนมีส่วรร่วมในกระบวนการเรียนรู้
ครูสามารถช่วยให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ของตนเอง
เหตุใดจึงต้องใช้วิธีการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
มีมุ่งหมายในการเรียนรู้ที่ชัดเจน
มีกลยุทธ์ในการเรียนที่เปิดกว้างและรู้ว่าควรจะนำกลยุทธ์เหล่านั้นมาใช้เมื่อใด
ใช้สื่อการเรียนที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพ
รู้จุดแข็งและจุดอ่อนของตนเอง
มีความรับผิดชอบต่อการเรียนของตนเอง
ความสามารถในการวางแผน สำรวจ ประเมินค่าและปรับกระบวนการเรียนรู้ได้
วิธีการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การเรียนเป็นกลุ่ม
การอภิปรายกลุ่มและการทำโครงงาน โดยครูจะเป็นผู้วางโครงสร้างของบทเรียน ชั้นเรียนและผู้เรียนเอง
การเรียนเป็นรายบุคคล
ครูจะต้องให้ความรู้และออกแบบการเรียนออกแบบการสอนให้ตรงกับความสนใจและความต้องการของผู้เรียน
การเรียนเฉพาะบุคคล
การให้ผู้เรียนแต่ละคนทำงานของตนเองเพื่อให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ทั้งนี้ครูจะต้องคอยให้คำปรึกษาหรือคำแนะนำแก่ผู้เรียนด้วย
การใช้วิธีสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในชั้นเรียน
ขั้นตอนที่ 1 : การวางแผน
การเรียนเป็นกลุ่ม
รู้ความประพฤติ ความสนใจและไหวพริบของผู้เรียน
สร้างความมั่นใจในการจับกลุ่มของผู้เรียน
ตั้งกฎเกณฑ์สำหรับกลุ่มขึ้น 2-3 ข้อ
กำหนดบทบาทสมมติ
วางแผนการทำงานของผู้เรียนระหว่างการทำงานเป็นกลุ่ม
วางแผนกิจกรรมกลุ่มที่เหมาะสม
กำหนดขอบเขตของกิจกรรมกลุ่ม
กำหนดเวลาในการทำกิจกรรมกลุ่มที่เหมาะสม
เตรียมการสอนที่ชัดเจนและถูกต้องแก่ผู้เรียน
กำหนดเวลาในการนำเสนอพร้อมทั้งมีช่วงเวลาสำหรับการตั้งคำถามและให้ผู้เรียนตอบ
ทบทวนการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยการประเมินแบบ peer evaluation
วางแผนกิจกรรมขั้นตอนต่อไป
การเรียนเป็นรายบุคคล
รู้ความสามารถ ไหวพริบและเจตคติของผู้เรียน
วางแผนการเรียนเป็นรายบุคคล
ออกแบบงานจริงมอบหมายให้ผู้เรียนทำอย่างเหมาะสมตามความสามารถที่แตกต่างกันของผู้เรียน
การเรียนเฉพาะบุคคล
รู้ความสามารถ ความสนใจและไหวพริบของผู้เรียน
วางแผนและกำหนดเป้าหมายให้แก่ผู้เรียน
ออกแบบการเรียนการสอนโดยเปิดโอกาสในการเรียนให้หลากหลาย
ปรับขอบเขตของบทเรียนและหัวข้อที่จะสอน
ครูจะต้องใช้เทคนิคในการสอน
การตั้งคำถามเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักคิดและอภิปรายร่วมกับเพื่อน
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้พูดบ้าง
ให้ผู้เรียนจับคู่ถามคำถามและแลกเปลี่ยนความรู้กับคู่ของผู้เรียน
สรุปความคิดเห็นของครูก่อนจะให้ผู้เรียนเปลี่ยนความคิดเห็นกัน
จับกลุ่ม 4-6 คน กำหนดหมายเลขของแต่ละคนแบ่งผู้เรียนที่มีหมายเลขเดียวกันออกเป็นกลุ่มย่อยแล้วให้สมาชิกกลุ่มย่อยกลับเข้าสู่กลุ่มใหญ่
จับกลุ่ม 3 คน ให้สมาชิกคนหนึ่งไปสังเกตการณ์กลุ่มอื่นแล้วให้นำแนวคิดกลับมาเข้ากลุ่มเดิม
ตั้งคำถามแก่สมาชิกในกลุ่มโดยเรียกให้ตอบตามหมายเลขที่กำหนดไว้
ตั้งโจทย์ปัญหาขึ้นมา 1 ข้อ จัดกลุ่มผู้เรียน 2-4. คนเพื่อให้วางแผน ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ นำเสนอผลลัพธ์ที่ได้และประเมินผลการนำเสนอของกลุ่ม
ขั้นตอนที่ 2 : การดำเนินงาน
การเรียนเป็นกลุ่ม
ตั้งกฎเกณฑ์และระเบียบกลุ่ม
สรุปย่องาน บทบาทของกลุ่มและระยะเวลาในการทำงานให้ผู้เรียนฟัง
รับฟังการอภิปรายของผู้เรียน
ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เรียน
การเรียนเป็นรายบุคคล
สรุปย่องาน บทบาทและระยะเวลาในการทำงานให้ผู้เรียนฟัง
จัดสรรกิจกรรมที่เหมาะสม
จัดสรรกิจกรรมกลุ่มที่เหมาะสม
การเรียนเฉพาะบุคคล
สรุปย่องาน ความคาดหวังและการลุมนุมให้ผู้เรียนฟัง
จัดเตรียมสื่อการเรียนรู้ที่เหมาะสมการทำงานเดี่ยว
กำหนดรูปแบบในการเรียนเฉพาะบุคคล
จัดทำแผนจัดการเรียนรู้
แสดงความคิดเห็นต่อพัฒนาการของผู้เรียน
ขั้นตอนที่ 3 : การประเมินผล
เป็นสิ่งจำเป็นที่ทำให้ครูสามารถตรวจสอบความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนได้
ประเภทของกิจกรรมสำหรับผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การเรียนเป็นกลุ่ม
ใช้ระยะเวลาสั้น
ใช้ระยะเวลานานกว่าประมาณ 20 - 25 ชั่วโมง
การเรียนเป็นรายบุคคล
การใช้บทเรียนแบบ e - lessons
การเรียนเฉพาะบุคคล
งานหรือโครงงาน
ศึกษาด้วยตนเอง
ใช้อุปกรณ์ช่วยในการเรียนด้วยตนเอง
ตัวอย่างเฉพาะของกิจกรรมสำหรับผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การทำโครงงาน
ผู้เรียนต้องจัดทำเอกสารและแฟ้มโครงงานของกลุ่ม
นำเสนอโครงงานกลุ่มหน้าชั้นเรียน
ครูเป็นผู้กำกับดูแลการทำงานกลุ่ม วางแผน ตรวจสอบ และให้ความช่วยเหลือผู้เรียน
การสร้างศูนย์การเรียนรู้
https://www.youtube.com/watch?v=KQoyLGLwf6Y&feature=emb_logo
การเรียนเป็นกลุ่มย่อย 2-3 คน
แบ่งผู้เรียนในชั้นออกเป็นฐานย่อยๆ
พื้นที่ห้องเรียนกว้างขวางเพื่อให้การสร้างศูนย์การเรียนรู้ดำเนินไปอย่างราบรื่น
การอภิปรายกลุ่ม
ตั้งกฎเกณฑ์ทั่วไป
กำหนดขนาดของกลุ่มเป็น 4-5 คน
กำหนดบทบาทในกลุ่ม
การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองและการใช้อุปกรณ์ช่วยในการเรียนด้วยตนเอง
ผู้เรียนจะเลือกหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
ครูต้องออกแบบกิจกรรมและเตรียมสื่อ
อุปกรณ์ช่วยในการเรียนด้วยตนเองเช่น วิดีทัศน์ คำถาม เว็บไซต์
คำแนะนำสำหรับการเรียนการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางที่มีประสิทธิภาพ
สร้างบรรยากาศแห่งความไว้เนื้อเชื่อใจในชั้นเรียน
ไม่ขัดขวางกระบวนการเรียนรู้
มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเรื่องการเรียนของผู้เรียน
ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักนับถือความสามารถของตนเอง
พยายามทำความเข้าใจกับความต้องการ การตอบสนอง ความคิดและความรู้สึกของผู้เรียน
https://www.youtube.com/watch?v=oPuZVi-WHEY&feature=emb_logo
https://www.youtube.com/watch?v=p1KsFWsljm8&feature=emb_logo
https://www.youtube.com/watch?time_continue=2&v=jB3Xb9QcF0I&feature=emb_logo
นางสาวอัสฟารีนา นาแว รหัส 6220160447 กลุ่ม 6 เลขที่ 19