Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยหญิงอายุ39ปีDX.Schizophenia with major depressive disorder -…
ผู้ป่วยหญิงอายุ39ปีDX.Schizophenia with major depressive disorder
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดโรค
ด้านชีวภาพ
ทฤษฏีทางการเเพทย์
ความผิดปกติของสารสื่อประสาท
Dopamineใน limbic area ลดลง
negative symptoms
พูดน้อย
การเเยกตัว
serotoninในสมองทำงานลดลง
ความเข้มข้นของ serotonin metaboliteในcsf น้อย
อารมณ์แปรปรวน
คลุ้มคลั่ง
ความเข้มข้นของ serotonin uptake site ที่ platelet น้อย
ด้านจิตใจ
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์
ความผิดปกติโครงสร้างจิตใจ
เกิดภาวะอ่อนเเอและEgoมีความผิดปกติ
ความผิดปกติของการพัฒนาบุคลิกภาพ
มี psychic trauma เกิดขึ้นในระยะพัฒนาการของบุคลิกภาพโดยเฉพาะขวบเเรกซึ่งเป็นช่วงที่มีความสำคัญต่อการพัฒนา Ego
ก่อให้เกิดความเครียดได้ง่าย
การถดถอย
การเก็บกด
ด้านสังคมเเละวัฒนธรรม
ความสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้าง
เพื่อน
ถูกกลั่นเเกล้งจากเพื่อนในวัยเด็ก
ครอบครัว
บิดามารดาไม่ค่อยมีเวลาให้ผู้ป่วยทำให้ผู้ป่วยไม่กล้าที่จะปรึกษาและกลัวที่จะปรึกษา
ประวัติการเจ็บป่วย
ประวัติในอดีต
-การเจ็บป่วยทางกาย
ปฏิเสธการเจ็บป่วยทางกาย ปฏิเสธการแพ้ยาและอาหาร สารเคมีต่างๆ และปฏิเสธการผ่าตัด
-การเจ็บป่วยทางจิต
รับการรักษาต่อเนื่องโรงพยาบาลราชบุรี
ประวัติในปัจจุบัน
25 ปีก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการซึม เก็บตัว ไม่ยอมพูดกับใคร ญาติจึงนำส่งโรงพยาบาลราชบุรี รับการรักษาต่อเนื่องประมาณ 20ปี ผู้ป่วยรับยาต่อเนื่องช่วงหลังๆเมื่อมีอาการดีขึ้นก็จะให้ญาติไปรับยาแทน
5 ปีก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยกลับมานั่งซึมและไม่ยอมพูดกลับใครมีอาการหงุดหงิดโวยวาย ญาติจึงพาไปรักษาที่โรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา เมื่อผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นจึงย้ายมารักษาตัวที่โรงพยาบาลบ้านโป่ง
อาการสำคัญ
หงุดหงิดโวยวายอาละวาดเมื่อไม่ได้ดั่งใจ และชอบการอยู่คนเดียว
อาการปัจจุบัน
ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี มีสีหน้าเรียบเฉย สลับยิ้มแย้มในบางครั้ง ช่วยเหลือตัวเองได้ ไม่มีอาการหูแว่ว หวาดระแวง มีอาการหงุดหงิดโวยวายเวลามีอาการน้อยใจหรือมีอะไรไม่ได้ดั่งใจ สนใจที่จะเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม และสอบถามอาการเกี่ยวกับความคิดอยากตายผู้ป่วยปฏิเสธ
ประวัติส่วนตัว
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 39 ปี ไม่ได้ประกอบอาชีพ อุปนิสัย เงียบ ไม่ค่อยพูด ระดับการศึกษา มัธยมศึกษาปีที่3. ที่จังหวัดราชบุรี มักจะโดนเพื่อนแกล้งและด่าทออยู่บ่อยครั้งเนื่องจากตนเป็นคนทำอะไรช้าแต่ไม่ได้บอกที่บ้านว่าโดนแกล้งจนวันหนึ่งมันเครียดมาก นั่งซึม ไม่พูดกลับใครเรียนต่อไม่ไหว ญาติจึงพาเข้ารับการรักษาจนอาการทุเลาลง สามารถใช้ชีวิตประจำวันได้
การประเมินด้านสุขภาพจิต
การรับรู้(Orientation)ผู้ป่วยไม่สามารถบอกวัน เดือน ปี และเวลา ได้ถูกต้อง
ความจำเฉพาะหน้า (Retention and Recall) : เมื่อให้ผู้ป่วยจำของ 3 อย่างได้แก่ ต้นไม้ รถไฟ แม่น้ำ ผ่านไป 4 นาทีแล้วถามผู้ป่วยซ้ำ ผู้ป่วยบอกว่า “จำไม่ได้”
การพูดและการใช้ภาษา(Speech and language)
จากการสังเกตผู้ป่วยจะต้องมีญาตินั่งอยู่ด้วยขณะที่สัมภาษณ์ ผู้ป่วยใช้ภาษาไทยสื่อสาร พูดเร็วแต่ไม่เร็วจนเกินไป เรียบเรียงคำพูดได้เป็นประโยค พูดจับใจความได้ดี ตอบตรงคำถาม บางครั้งก็ไม่ตอบ
การรักษา
การรักษาด้วยยา
Fendec (25mg) M g
Chlorpromazine 50mg 1tab oral hs.
Risperidone 1 mg 1 tab oral
การพยาบาล
1.ข้อวินิจฉัยพยาบาลบกพร่องในการสร้างสัมพันธภาพ
1.1สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยเพื่อการบำบัด
1.2.แสดงการยอมรับผู้ป่วย โดยการเรียกชื่อ นามสกุลของผู้ป่วย ได้ถูกต้อง และการทักทาย
1.3.เสนอตัวให้ความช่วยเหลือและชวนสนทนาเกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆ
1.4. ให้ข้อมูลถึงผลดีและประโยชน์ของ การมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
1.5.สอนทักษะการมีสัมพันธภาพกับคน อื่น เช่น การทักทาย การยิ้ม
2.ข้อวินิจฉัยพยาบาลรู้สึกด้อยคุณค่าในตนเอง เนื่องจากต้องพึ่งพาผู้อื่น
2.1. พูดคุยกับผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอ ครั้งละ 30 – 45 นาที
2.2.ประเมินลักษณะทางจิตของผู้ป่วย
2.3. ช่วยให้ผู้ป่วยมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น โดยเริ่มจากกลุ่มย่อยจนถึงกลุ่มใหญ่
2.4ให้ผู้ป่วยพูดหรือแสดงความรู้สึกต่างๆออกมามากที่สุด โดยเล่าให้กลุ่มฟัง
2.5ส่งเสริมการทำกิจกรรมกลุ่มที่ทำแล้วเห็นผลสำเร็จทันที
3ข้อวินิจฉัยพยาบาลมีแบบแผนการนอนแปรปรวนทำให้ร่างกายพักผ่อนไม่เพียงพอ
1จัดสภาพแวดล้อมในห้องนอนผู้ป่วยให้เงียบสงบ มีแสงสว่างพอเหมาะ
3.2. แยกผู้ป่วยที่ส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่นออกจากห้อง
3.3แนะนำญาติสังเกตการนอนหลับของผู้ป่วย
3.4เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึก ความคับข้องใจเพื่อค้นหาสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยนอนไม่หลับ
3.5ดูแลให้ได้รับยาตามแพทย์สั่งเมื่อมีอาการ พร้อมทั้งสังเกตอาการเปลี่ยนแปลง
3.6จัดกิจกรรมให้ผู้ป่วยได้เคลื่อนไหว ออกกำลังกายในช่วงเช้า เพื่อให้ผู้ป่วยได้ผ่อนคลาย
กิจกรรมกลุ่มบำบัด
กิจกรรมนันทนาการบำบัด
กิจกรรมศิลปะบำบัด
การพยากรณ์โรค