Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การดำเนินการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางอย่างมีประสิทธิภาพ,…
บทที่ 6
การดำเนินการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางอย่างมีประสิทธิภาพ
การสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางคืออะไร
คือ การให้ครูเป็นผู้ควบคุมการเรียนการสอนโดยตรงในขณะที่การสอนแบบให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางคือการปล่อยให้ผู้เรียนค้นคว้าหาความรู้และแก้ปัญหาด้วยตนเอง
การดำเนินการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลาง
กลยุทธ์ในการสอนประกอบด้วย 3 ขั้นตอนด้วยกันคือ
ระหว่างการสอน
ภายหลังการสอน
ก่อนการสอน
การนำเสนอ คือ การถ่ายทอดข้อมูลจากผู้ที่มีความรู้มากกว่าไปสู่ผู้ที่มีความรู้น้อยกว่าเพื่อให้ผู้ฟังเกิดความเข้าใจในข้อเท็จจริง แนวคิดและคำอธิบาย การนำเสนอนี้ครอบคลุมถึงทุกขั้นตอนของกลยุทธ์ในการสอน
ระหว่างการสอน
สิ่งที่จำเป็นต้องทำระหว่างการสอน คือ
สรุปประเด็นสำคัญ
นำเสนอข้อมูลใหม่
จัดระเบียบข้อมูล
อธิบายวัตถุประสงค์ของบทเรียน
ภายหลังการสอน
การนำเสนอภายหลังการสอนเป็นการตรวจสอบว่าผู้เรียนเข้าใจในความรู้ใหม่ที่ได้เรียนไปหรือไม่ ครูอาจตั้งคำถามภายในชั้นเรียน สั่งการบ้าน ทดสอบและใช้วิธีการอื่นๆได้ การอภิปรายในชั้นเรียนก็เป็นวิธีหนึ่งที่มีประสิทธิภาพในการขยายขอบเขตความคิดของผู้เรียน
1.ก่อนการสอน
ครูต้องเตรียมการนำเสนอโดยใช้แนวทางดังต่อไปนี้
จัดระเบียบข้อมูลให้สอดคล้องกับแผนการสอน
เลือกรูปแบบในการสอนให้เหมาะกับผู้เรียนโดยเชื่อมโยงความรู้ที่ผู้เรียนมีอยู่เดิมเท่ากับความรู้ใหม่ที่ผู้เรียนจะได้รับซึ่งอาจเป็นรูปแบบของการบอกเล่าหรือการตั้งคำถามให้ผู้เรียนต่อเพื่อให้การนำเสนอดำเนินต่อไปได้
เลือกและทบทวนเนื้อหาให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการเรียน
เลือกและทบทวนเนื้อหาให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการเรียน
พิจารณาถึงความรู้และทักษะที่ผู้เรียนมีอยู่ก่อนซึ่งสอดคล้องกับหัวข้อที่จะเรียน
เช่น ตรวจสอบจากประเมินวิชาของหลายปีก่อนหน้านี้
กำหนดวัตถุประสงค์ในการเรียนซึ่งเป็นสิ่งที่ครูต้องการให้ผู้เรียนได้จากการเรียน
เช่น ผู้เรียนสามารถบอกชื่อส่วนต่างๆของพืชได้
กำหนดหัวข้อที่ตรงกับแผนการจัดการเรียนรู้หรือประมวลวิชา
การสอนโดยตรง
การสอนโดยตรงมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจความรู้และทักษะขั้นพื้นฐานได้อย่างเป็นขั้นตอน
ระหว่างการสอน
สิ่งที่จำเป็นต้องทำระหว่างการสอน คือ
ให้ข้อมูลหรือทักษะอย่างถูกวิธี
ให้คำแนะนำในการปฏิบัติ
ตรวจสอบความเข้าใจและให้ความเห็น
นำเสนอวัตถุประสงค์ของบทเรียน
ภายหลังการสอน
ภายหลังการสอนครูอาจเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติเป็นรายบุคคลโดยฝึกภายในห้องเรียนหรือให้ไปทำเป็นการบ้าน จากนั้นครูอาจใช้วิธีทดสอบเพื่อประเมินความรู้หรือทักษะของผู้เรียนได้
1.ก่อนการเรียน
ก่อนจะเริ่มการสอนโดยตรง ครูจะต้องเตรียมแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวทางดังต่อไปนี้
กำหนดวัตถุประสงค์ในการเรียนให้สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้เรียน
วิเคราะห์เนื้อหาในแต่ละส่วนเพื่อให้ครูดำเนินการสอนได้อย่างเป็นระบบ
การสอนแนวคิด
การสอนแนวคิดมีหลายวิธีด้วยกันแต่ในที่นี้จะกล่าวถึงเพียง 2 วิธี
การเรียนรู้แนวคิดได้ด้วยตนเอง คือการสันนิษฐานว่าผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับแนวคิดที่จะสอนนี้อยู่บ้างแล้ว ดังนั้นครูจึงไม่ต้องบอกผู้เรียนว่าแนวคิดที่จะสอนนั้นคืออะไร คือจะเป็นผู้แสดงและไม่แสดงแต่ยกตัวอย่างประกอบเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจแนวคิดได้อย่างมีเหตุผล
การนำเสนอโดยตรง คือการสอนโดยที่ผู้เรียนไม่มีความรู้เกี่ยวกับแนวคิดที่จะสอนนี้มาก่อนซึ่งครูจะเป็นผู้ให้ความรู้แก่ผู้เรียนและช่วยให้ผู้เรียนสามารถทำความเข้าใจกับแนวคิดนั้นได้
โดยพื้นฐานแล้ว การสอนแนวคิดคือการสอนแนวความคิดหลักที่เป็นรากฐานในการส่งเสริมทักษะการคิดของผู้เรียนซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถทำความเข้าใจกับแนวคิดได้ดีขึ้น
ระหว่างการสอน
นำเสนอวัตถุประสงค์ของบทเรียน
ระบุแนวคิดพร้อมยกตัวอย่างหรือไม่ยกตัวอย่างประกอบ
ทดสอบเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจแนวคิด
วิเคราะห์ความคิดและการเรียนรู้ของผู้เรียน
ภายหลังการสอน
ภายหลังการสอน ครูอาจต้องการประเมินความเข้าใจของเรียนถึงแนวคิดที่ได้เรียนไปโดยให้ผู้เรียนเขียน อธิบาย หรือทำแบบทดสอบ นอกจากนี้ครูขอให้ผู้เรียนอธิบายแนวคิดให้ฟัง ครูก็อาจประเมินความสามารถของผู้เรียนได้ด้วยเช่นกัน
1.ก่อนการเรียน
วิเคราะห์แนวคิด
ระบุแนวคิด
เลือกแนวคิดที่จะสอนจากแผนการเรียนหรือประมวลรายวิชา
เลือกการใช้หรือไม่ใช้ตัวอย่างประกอบ
จัดรูปแบบการใช้และไม่ใช้ตัวอย่างประกอบจากง่ายไปหายาก
ตัดสินว่าจะใช้การสอนแนวคิดรูปแบบใด
การจัดการสภาพแวดล้อมในการเรียนสำหรับการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลาง
ทักษะที่จำเป็นได้แก่
การจัดการเรียนการสอนให้ดำเนินไปอย่างราบรื่นตลอดชั่วโมงเรียน
การดึงความสนใจของผู้เรียนให้จดจ่ออยู่กับบทเรียนได้ตลอดชั่วโมงโดยการจัดที่นั่งของผู้เรียนให้เป็นกลุ่มเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชั้นเรียน
ความสามารถของครูในการมีส่วนร่วมในเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายในเวลาเดียวกัน
การขจัดความเบื่อหน่ายของผู้เรียน
ความสามารถของครูที่สามารถรับรู้ได้ตลอดเวลาว่าเกิดอะไรขึ้นภายในชั้นเรียนบ้างเสมือนหนึ่งว่าครูมีตาอยู่ด้านหลังด้วยนั่นเอง เมื่อผู้เรียนรู้ว่าครูเป็นเช่นนี้แล้ว ผู้เรียนก็จะไม่กล้าเล่นซนในห้องเรียนอีก
นางสาวมัรยัม จิดอลี
6220160387 เลขที่ 3