Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน - Coggle Diagram
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
ความหมาย
ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพของการจัดการเรียนรู้
ความสำคัญของเนื้อหา ต้องเลือกเนื้อหาที่เป็นแกนหรือหลักการและสอดคล้องกับการนำไปใช้ใน สถานการณ์จริง
เลือกปัญหาที่พบบ่อยในสถานการณ์จริงและสร้างปัญหาให้สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
กระบวนกลุ่ม ทั้งครูและผู้เรียนต้องเข้าใจพลวัตรของกระบวนการกลุ่ม บทบาทของสมาชิกแต่ละคนในกลุ่ม
ครูหรือผู้สอนยังมีบทบาทสำคัญในการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานแต่จะ เปลี่ยนไปจากการสอนแบบบรรยาย
การพัฒนาทักษะต่างๆ ของทั้งครูและผู้เรียน
ทรัพยากรการเรียนรู้ เนื่องจากเป็นแหล่งข้อมูลหรือความรู้ที่สำคัญ การเตรียมและจัดหาแหล่งทรัพยากร การเรียนรู้ที่หลากหลาย พร้อมทั้งเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมาใช้
การบริหารจัดการ ความร่วมมือและประสานงานกันระหว่างภาควิชาหรือหน่วยงาน ตลอดจนการวางแผนที่ เหมาะสมจะทำให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ
รูปแบบการสอนแบบ 10 ขั้นตอน
เขียนแผนผังการค้นปัญหาและจัดลำดับความสำคัญ
การสำรวจปัญหา/สืบเสาะ – เพื่อช่วยกำหนดกลยุทธ์ของกลุ่ม
การดำเนินการค้นหา
การวิเคราะห์ – ผู้เรียนรับผิดชอบต่อการวิเคราะห์ผล
ผู้เรียนเผชิญปัญหาที่คลุมเครือ
การเรียนรู้ซ้ำ เสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ต่อกัน เกิดความเข้าใจใหม่และนำไปใช้แก้ปัญหาและนิยามปัญหา ถ้าไม่ ชัดเจนไปเรียนรู้เพิ่ม
ผู้เรียนเผชิญปัญหาที่คลุมเครือ
การสร้างแนวคำตอบและข้อแนะนำ สร้างความรู้จากผลลัพธ์ที่ได้
สื่อความหมายผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผลโดยครู ผู้เรียน และเพื่อนร่วมชั้น
ทักษะการเรียนรู้
สิ่งที่ได้จากการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
ได้ความรู้ที่สอดคล้องกับบริบทจริงและสามารถนำไปใช้ได้
พัฒนาทักษะการคิดเชิงวิพากย์ การคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล การคิดสังเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์และนำไปสู่การคิดแก้ปัญหาที่มีประสิทธิผล
ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตัวเองอย่างต่อเนื่อง นำไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต ซึ่งเป็นคุณลักษณะที่สำคัญของบุคคลในศตวรรษที่ 21
ผู้เรียนสามารถท างานและสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เป็นการสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน
ความคงอยู่ (retention) ของความรู้จะนานขึ้น