Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 17 จิตตปัญญาศึกษา - Coggle Diagram
บทที่ 17 จิตตปัญญาศึกษา
ความหมาย
เป็นกระบวนการการเรียนรู้จากภายในทำให้ได้มาซึ่งความรู้ ประสบการณ์ และกระบวนการ
กระบวนการพัฒนาจิตตปัญญาศึกษา
การฟังอยากลึกซึ้ง
การน้อมสู่ใจอย่างใคร่ครวญ
การเฝ้ามองเห็นตามที่เป็นจริง
หลักการของจิตตปัญญาศึกษาเพื่อพัฒนาตนเอง
ความเชื่อมั่นในความเป็นมนุษย์
กระบวนทัศน์องค์รวม
หลักจิตตปัญญา 7
หลักการพิจารณาด้วยใจอย่างใคร่ครวญ
หลักความรักความเมตตา
หลักการเชื่อมโยงสัมพันธ์
หลักการเผชิญหน้า
หลักความต่อเนื่อง
หลักความมุ่งมั่น
หลักชุมชนแห่งการเรียนรู้
การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาจิตตปัญญาศึกษา
เข้าใจด้านในของตนเอง รู้จักตนเอง เข้าถึงความจริง ทำให้เปลี่ยนมุมมองเกี่ยวกับโลกและผู้อื่น เกิดความเป็นอิสระ ความสุข เกิดปัญญา
ความสำคัญของจิตตปัญญาเพื่อพัฒนาตนเองต่อความเป็นครูที่ดี
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบจิตตปัญญามีผลต่อการพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์และความสามารถในการเรียนรู้ทางสังคมของเด็กปฐมวัย
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
พลวัตร วุฒิประจักษ์และมาเรียม
ได้ฟังจากการเล่าภูมิหลังชีวิตเพื่อน ทำให้เข้าใจเพื่อนรักเพื่อนมากขึ้น
เข้าใจความต้องการของผู้อื่น
มีความตระหนักรู้ในตนเองเปลี่ยนไป
มองเห็นจุดด้อยของตน