Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้คลอดเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด และการส่งเสริมสุขภาพในระยะค…
การดูแลผู้คลอดเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด และการส่งเสริมสุขภาพในระยะคลอด
วิธีการบรรเทาความเจ็บปวด
การนวดและการสัมผัส(Touch and massage)
การดูแลอย่างต่อเนื่อง(Labor Support)
วิธีการไม่ใช้ยา
โปรแกรมการให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ในทีมสุขภาพ
ประเมินการเจ็บครรภ์
การพยาบาลเพื่อบรรเทาการเจ็บครรภ์ทั้
วิธีการบรรเทาความทรมานจากการเจ็บครรภ์แบบไม่ใช้ยา
ปัจจัยที่เกี่ยงข้องกับการเจ็บครรภ์
ประเด็นจริยธรรมในการบรรเทาความทุกข์จากการเจ็บครรภ์
การเตรียมความรู้ก่อนคลอด(Childbirth education)
การมีส่วนร่วมของครอบครัว
การพยาบาลเพื่อบรรเทาการเจ็บครรภ์ทั้งการใช้ยาและไม่ใช้ยา
ให้ความรู้ที่ให้แก่ผู้คลอด ผู้ดูแล หรือญาติ
วางแผนการพยาบาลบรรเทาจากการเจ็บครรภ์ร่วมกันงผู้คลอด
การปรับท่าทางและการเคลื่อนไหวในระยะคลอด
ผู้คลอดอยู่ในท่า Upright โดยการนั่งพิง/ท่าคลาน
ในรายที่ปากมดลูกเปิด 6-8 ซม.
ในรายที่ปากมดลูกเปิด 7-10 ซม.ควรปรับอยู่ในท่ายืน
รายที่atent phaseให้เดินและเคลื่อนไหวอย่างเป็นอิสระ
การบำบัดด้วยน้ำ(Hydrotherapy-warm or cool)
การผ่อนคลายหรือการหายใจ(Relaxation and breathing)
วิธีการใช้ยา
ยา Pethidine (Meperidine )
ยา Fentanyl
วิธีการ อื่นๆ
ส่งเสริมความเป็นส่วนตัว
ส่งเสริมความเป็นส่วนตัว
ทำให้ผู้คลอดเพิ่มความรู้สึกในการควบคุมอาการเจ็บครรภ์
ปรับสภาพแวดล้อมในห้องรอคลอด
การลดเสียงรบกวน
การลดแสงกระตุ้น
การดูแลผู้คลอดเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด (โดยไม่ใช้ยา)
การลดตัวกระตุ้นความปวด
การเคลื่อนไหว
การนั่ง การนั่งเก้าอี้โยก (rocking)
นั่งเอียงไปมาบนลูกบอล (swaying)
การออกกำลังกายด้วยลูกบอลสำหรับการคลอด
ท่า
ท่านั่งยอง
ท่าคุกเข่า
ท่าพีเอสยูแคท (PSU Cat)
ท่าศีรษะและลำตัวสูง
การกระตุ้นประสาทส่วนปลาย
การบ้าบัดโดยใช้น้ำหรือวารีบำบัด
ให้ผู้คลอดแช่ในน้ำธรรมดาหรือน้ำอุ่น
น้ำอุ่นที่อุณหภูมิไม่เกิน 38 องศาเซลเซียส นาน 25 นาที
น้ำ34-38 องศาเซลเซียสจะเหมาะกับการแช่ตัว
อุณหภูมิน้ำต้องไม่เกิน 42 องศาเซลเซียส
การประคบร้อนและเย็นบริเวณผิวหนัง
ประคบร้อนใช้อุณหภูมิประมาณ 40-50 องศาเซลเซียส
ประคบเย็นใช้อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส
การสัมผัส การนวด และการกดจุด
การลูบ
ลูบฝ่ามือขึ้นไปที่ยอดมดลูกทางด้านข้างของครรภ์ทั้ง 2 ข้าง
บริเวณท้องหรือหน้าขา (abdominal effleurage)
การนวด
เน้นบริเวณไหล่ หลัง กระเบนเหน็บ และต้นขา
นวดที่หน้าท้องด้วยน้ ามันรำข้าวผสมน้ำมันหอมระเหย
การนวดแผนไทย
การกดจุด
กดจุดเป็นการกระตุ้นปลายประสาทขนาดใหญ่
บริเวณปลายนิ้วก้อยของนิ้วเท้า
กดนาน 10 วินาที ปล่อย 2 วินาที รวมเวลา 20-30 นาที
การกดจุดเอสพี 6
การกดจุด แอลไอ 4 และ บีแอล 67
การยับยั้งการส่งกระแสประสาท
จากไขสันหลังในระดัสมอง
การใช้ดนตรี
เสียงดนตรีเพื่อการผ่อนคลายควรมีระดับเสียง 45-50 เดซิเบล
สุคนธบำบัด
ใช้น้ำมันหอมระเหย
ใช้ในรูปแบบการสูดดม
การใช้เทคนิคการหายใจ (breathing technique)
วิธีหายใจในระยะปากมดลูกเปิดช้า
หายใจยาวและลึก 1 ครั้ง จากนั้นหายใจเข้าทางจมูกช้าๆ นับ 1-4
วิธีหายใจในระยะปากมดลูกเปิดเร็ว
เริ่มสอนตั้งแต่หน่วยฝากครรภ์
วิธีหายใจแบบเร็วตื้นและเบา
หายใจยาวและลึก1 ครั้ง จากนั้นให้หายช้าๆ จนกระทั่งมดลูกหดรัดตัวแล้วหายใจเข้าออกทางปากและจมูกตื้น เร็ว และเบา
หายใจแบบหอบสลับเป่าปาก
หายใจยาวและลึกเพื่อล้างปอด 1 ครั้ง จากนั้นหายใจเข้าและออกทางปากตื้นๆ เร็วๆ เบาๆติดต่อกัน 3 ครั้ง แล้วเป่าลมออก 1 ครั้ง
การเบ่งคลอด (pushing)
การเบ่งคลอดแบบวัลซัลวา ( valsalvapushing)
บ่งหลายๆ ครั้งขณะมดลูกหดรัดตัวแต่ละครั้ง หรือกลั้นหายใจนานมากกว่า 6 วินาที
การเบ่งคลอดแบบเปิดกล่องเสียง (opened glottis pushing)
ให้ผู้คลอดออกเสียงเบาๆ หรือมีลมเล็ดลอดขณะ
เบ่งได้ และใช้เวลาเบ่งแต่ละครั้งนาน 4–8 วินา
การเพ่งและเบี่ยงเบนความสนใจ
ปากมดลูกเปิด 8-10 ซม. ให้หายใจลึกๆ เพ่งตามองที่จุดหนึ่งจุดใดอย่างแน่วแน่
ปากมดลูกเปิด 4-8 ซม. ให้ตั้งใจจดจ่ออยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง นับลมหายใจเข้าออก
ปากมดลูกเปิด 1-4 ซม.ให้เดิน พูดคุย หรืออ่านหนังสือ
ให้ผู้คลอดเพ่งดูที่จุด
หนึ่งจุดใดอย่างแน่วแน่ขณะมดลูกหดรัดตัว
การส่งเสริมความสุขสบายในระยะคลอด
การช่วยให้ผู้คลอดเผชิญกับความปวดและ
ความไม่สุขสบาย
การจัดสิ่งแวดล้อม
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
อาจเลือกเพียงหนึ่งวิธี
หรือใช้หลายวิธีมาผสมผสานกัน
ให้ยาลดปวดได้ตามแผนการรักษาของแพทย
ปัจจัยที่มีผลต่อความปวด
จิตใจ
สังคม
กาย
วัฒนธรรม
สิ่งแวดล้อม
มีความแตกต่างกันในผู้คลอดแต่ละคน
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การดูแลความสะอาดปากฟัน
คอยดูแลปรับหยดสารน้ าให้ได้ตามปริมาณที่แพทย์สั่ง
ดูแลสุขอนามัยผู้คลอดทั้งทางร่างกาย
เช็ดตัว เปลี่ยนเสื้อผ้าให้หากพบว่าชื้นด้วยเหงื่อ
สิ่งคัดหลั่งทางช่องคลอดเปรอะเปื้อน
ต้องเช็ดทำความสะอาด
การดูแลสิ่งแวดล้อม
ปูเตียงด้วยผ้าสะอาด แห้ง ให้เรียบตึง
มีผ้ารองเลือดหรือน้ าคร่ าใต้ก้นผู้คลอด
กั้นม่าน
เปลี่ยนผ้าให้ทุกครั้งที่ผ้าชุ่ม
อนุญาตให้ญาติเฝ้าคลอดได้
การจัดสิ่งแวดล้อมให้มีความเป็นส่วนตัวมากเท่าที่จะทำได้
การจัดการความเจ็บปวดในระยะคลอดโดยการใช้ยา
ในกรณีที่ผู้คลอดไม่สามารถเผชิญความเจ็บปวดได้เหมาะสม
ยา Pethidine ( Meperidine )
ยา Pethidine ให้ได้ทั้ง IV push และ IV dripและ IM
ให้ IV injection ให้เจือจางความเข้มข้น อย่างน้อย10 mg/ml
ยาที่ไม่สามารถผสมกับ pethidine
ในระยะ Active ปากมดลูกเปิด มากกว่า 3 ซ.ม.
ยา Fentanyl
ยาบรรเทาปวดชนิดเสพติด
อาการข้างเคียง
กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง
กล้ามเนื้อกระตุก
เวียนศีรษะ
ความดันเลือดต่ำ
หัวใจเต้นช้า
Fentanyl เป็นยาบรรเทาปวดชนิดเสพติดที่มีประสิทธิภาพสูง
ควรเก็บไว้ในที่มีอุณหภูมิ 15 – 30 ◦C
ณัฐกานต์ สุขแดง 6101210729
sec.A เลขที่ 31