Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 บัญชียาหลักแห่งชาติยาสามัญประจาบ้าน - Coggle Diagram
บทที่ 10
บัญชียาหลักแห่งชาติยาสามัญประจาบ้าน
เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกยา
1.ระบบการคัดเลือกยาต้องเป็นไปตามความจาเป็นในการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพของประเทศไทยเป็นหลัก
2.ระบบการคัดเลือกต้องแสดงข้อมูลเชิงประจักษ์ที่ละเอียดพอ เอื้อให้เกิดการใช้ข้อมูลครบถ้วนในการตัดสินใจ มีข้อมูลและเหตุผลชัดเจนทุกขั้นตอน และอธิบายต่อสาธารณชนได้ (explicit information)
3.การคัดเลือกและแสดงรายการยา ให้ใช้ชื่อสามัญของยา รูปแบบยา ความแรง ขนาดบรรจุ ยกเว้นในกรณีที่ไม่ระบุจึงใช้ความแรงและขนาดบรรจุอื่นได้
4.ต้องคานึงถึงข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพยา เช่น รูปแบบยา การเก็บรักษา ความคงตัวของยา ขนาดบรรจุ วันหมดอายุ เป็นต้น ตลอดจนข้อมูลอื่นเกี่ยวกับยา เช่น ประสิทธิภาพในการบริหารยาและการยอมรับในการใช้ยาของผู้ป่วย (compliance) เป็นต้น
5.ต้องคานึงถึงข้อมูลเชิงเศรษฐศาสตร์ด้านค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น ราคายา ความสามารถในการจ่ายทั้งของ ระบบประกันสุขภาพต่างๆ สังคมและประชาชน ตลอดจนฐานะเศรษฐกิจของประเทศ
6.ในกรณีที่ยามีคุณสมบัติครบตามเกณฑ์การพิจารณา แต่ไม่มีการขึ้นทะเบียนตารับยา หรือไม่มีจาหน่ายในประเทศ ให้กาหนดรายการยาดังกล่าวไว้ในบัญชียาหลักแห่งชาติ และเสนอเป็นยากาพร้าเพื่อเป็นแนวทางในการกาหนดนโยบายและมาตรการในการแก้ปัญหาการเข้าถึงยาดังกล่าวต่อไป
7.กรณียาที่อยู่ระหว่างการติดตามความปลอดภัย (Safety
Monitoring Program: SMP) และข้อบ่งใช้ของยาที่นอกเหนือจากที่ระบุไว้ในเอกสารกากับยา (off label indication)
8.ควรเป็นยาเดี่ยว หากจาเป็นต้องเป็นยาผสมจะต้องมีข้อมูลที่เชื่อถือได้ที่แสดงว่ายาผสมมีข้อดีกว่าหรือ เท่าเทียมกับยาเดี่ยวในด้านความปลอดภัย ประโยชน์และค่าใช้จ่าย นอกจากนี้ยาผสมจะต้องมีข้อดีกว่ายาเดี่ยว ในประเด็นของ compliance และ/หรือ การชะลอหรือป้องกันการดื้อยาของเชื้อก่อโรค
9.หากเป็นยาที่มีหลายข้อบ่งใช้ แต่มีความเหมาะสมที่จะใช้เพียงบางข้อบ่งใช้ ให้ระบุข้อบ่งใช้และเงื่อนไขการสั่งใช้ยาเพื่อให้การใช้ยาดังกล่าวเป็นไปตามขั้นตอนอย่างเหมาะสม เงื่อนไขการสั่งใช้ต้องมีความชัดเจน เอื้อต่อการใช้ยาเป็นขั้นตอนตามระบบบัญชีย่อยซึ่งแบ่งเป็นบัญชีย่อย ก ข ค ง และ จ
10.ยาในบัญชี จ (2) มีเกณฑ์การพิจารณาเพิ่มเติมเป็นการเฉพาะกล่าวคือ เป็นยาที่จาเป็นต้องใช้สาหรับผู้ป่วยเฉพาะรายมีจานวนผู้ป่วยไม่มากและยามีค่าใช้จ่ายสูงที่ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการจ่ายของรัฐ ซึ่งค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น รัฐสามารถรับภาระค่าใช้จ่ายได้ โดยจัดระบบบริหารจัดการยาที่เหมาะสม
บัญชียาหลักแห่งชาติ
บัญชียาสาหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข
รายการยาแผนปัจจุบันสาหรับใช้ในโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข ซึ่งประกอบด้วยบัญชีย่อย ๕ บัญชี ได้แก่ บัญชี ก บัญชี ข บัญชี ค บัญชี ง และบัญชี จ รวมทั้งรายการยาเภสัชตารับโรงพยาบาล
บัญชียาจากสมุนไพร
รายการยาจากสมุนไพรที่เป็นยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ และยาพัฒนาจากสมุนไพร ซึ่งมีตัวยาในสูตรตารับ
การจัดประเภทรายการยา
ออกเป็นบัญชีย่อย 5 บัญชี ได้แก่
บัญชี ก. ข. ค. ง. และ จ.
บัญชี ก. คือ รายการยามาตรฐานที่ใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย มีหลักฐานชัดเจนที่สนับสนุนการใช้ มีประสบการณ์การใช้ในประเทศไทยอย่างพอเพียงและเป็นยาที่ควรได้รับการเลือกใช้เป็นอันดับแรกตามข้อบ่งใช้ของยานั้น เหมาะกับสถานพยาบาลระดับปฐมภูมิที่ไม่มีแพทย์ประจา เช่น รพสต.
บัญชี ข. คือ รายการยาที่ใช้สาหรับข้อบ่งใช้หรือโรคบางชนิดที่ใช้ยาในบัญชี กไม่ได้ หรือไม่ได้ผล หรือใช้เป็นยาแทนยาในบัญชี ก ตามความจาเป็น
บัญชี ค หมายความว่า รายการยาที่ต้องใช้ในโรคเฉพาะทางโดยผู้ชานาญ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้อานวยการของสถานพยาบาลนั้นๆโดยสถานพยาบาลจะต้อง
บัญชี ง. หมายถึงรายการยาที่มีหลายข้อบ่งใช้ แต่มีความเหมาะสมที่จะใช้เพียงบางข้อบ่งใช้ มีแนวโน้มจะมีการสั่งใช้ยาไม่ถูกต้อง เป็นยาที่มีราคาแพง จาเป็นต้องใช้สาหรับผู้ป่วยบางราย แต่อาจทาให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย ก่อปัญหาเชื้อดื้อยาที่ร้ายแรง
บัญชี จ บัญชี จ(๑)รายการยาสาหรับโครงการพิเศษของกระทรวง
บัญชี จ(๒)รายการยาสาหรับผู้ป่วยที่มีความจาเป็นเฉพาะ
เงื่อนไขการสั่งใช้ยา
หากยารายการใดมีหลายข้อบ่งใช้ แต่มีความเหมาะสมที่จะใช้เพียงบางข้อบ่งใช้ หรือมีแนวโน้มว่าจะมีการสั่งใช้ไม่ถูกต้อง จะระบุข้อบ่งใช้ไว้ในเงื่อนไขการสั่งใช้ยา เพื่อเป็นแนวทางสั่งใช้ยาสาหรับแพทย์ รวมทั้งเป็นข้อมูลสาหรับสถานพยาบาลเพื่อประกอบการจัดระบบกากับติดตามให้เกิดการใช้ยารายการนั้น ๆ อย่างสมเหตุผล
ยาสามัญประจาบ้าน
ล่าสุดยาสามัญประจาบ้านแผนปัจจุบัน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ.๒๕๕๕ ยาที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนดให้เป็นยาสามัญประจาบ้าน ที่สามารถให้ประชาชนทั่วไปที่ไม่ได้เป็นแพทย์หรือผู้มีหน้าที่ดำเนินการทางการแพทย์ สามารถใช้ได้อย่างไม่มีความอันตรายและเป็นการรักษาตนเองเบื้องต้น ใช้รักษาอาการเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ ที่ไม่มีอาการรุนแรงโดยผู้ป่วยหรือประชาชนสามารถใช้รักษาได้ด้วยตนเอง เช่น ไอ ปวด ปวดศีรษะ ถูกน้าร้อนลวก ท้องอืด ท้องเฟ้อ ถูกมีดบาด เป็นต้น สามารถหาซื้อได้ทั่วไปโดยไม่ต้องมีใบสั่งแพทย์
ยาเข้าใหม่ตามประกาศ พ.ศ. 2555
ยาเม็ดแก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ไซเมธิโคน
ในสูตรตารับ 11เม็ด / แคปซูล ประกอบด้วยตัวยาสาคัญ คือSimethicone 4040มิลลิกรัมและ 8080มิลลิกรัม
สรรพคุณ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด
ขนาด 4040มิลลิกรัม ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 22เม็ด เมื่อมีอาการ วันละ 44ครั้ง (ไม่เกินวันละ 1212เม็ด)
ขนาด 80 มิลลิกรัม ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 11เม็ด เมื่อมีอาการ วันละ 44ครั้ง (ไม่เกินวันละ 66เม็ด)
คำเตือน
๑) หากอาการไม่ดีขึ้นภายใน ๓ วัน ควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร
๒) ยานี้ไม่ใช่ยาลดกรดเคลือบแผลในกระเพาะอาหาร
การเก็บรักษา เก็บในที่อุณหภูมิต่ากว่า 40 องศาเซลเซียส
ขนาดบรรจุ ชนิดเม็ดบรรจุแผงอลูมิเนียม ชนิดแคปซูลบรรจุแผงพลาสติกหรืออลูมิเนียม
แผงละไม่เกิน ๑๐ เม็ด/แคปซูล
การแบ่งยาตามพระราชบัญญัติยา
1.ยาแผนปัจจุบัน
2.ยาแผนโบราณ
3.ยาอันตราย
4.ยาสามัญประจาบ้าน
ยาแผนปัจจุบันบรรจุเสร็จ
6.ยาควบคุมพิเศษ
วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทและยาเสพติด
การจำแนกตามกฎหมาย
1.ยาแผนปัจจุบัน หมายถึง ยาที่มุ่งหมายสาหรับใช้ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมการประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบัน หรือการบาบัดโรคสัตว์
ยาแผนโบราณ หมายถึง ยาที่ใช้ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณหรือในการบาบัดโรคของสัตว์ ซึ่งมีปรากฏอยู่ในตารายาแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศ หรือยาที่รัฐมนตรีประกาศให้เป็นยาแผนโบราณ หรือได้รับอนุญาตให้ขึ้นทะเบียนตารับยาเป็นแผนโบราณ
ยาอันตราย คือ ยาแผนปัจจุบันที่มีอันตรายสูงกว่ายาสามัญประจาบ้านการใช้ยานี้จึงต้องผ่านการดูแลจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เช่น แพทย์ หรือเภสัชกร ยาในกลุ่มนี้จะมีคาว่า “ยาอันตราย” ระบุไว้บนฉลากข้างภาชนะบรรจุ และจาหน่ายได้เฉพาะในร้านขายยาแผนปัจจุบันที่มีเภสัชกรแผนปัจจุบันทาหน้าที่ควบคุมดูแล หรือจาหน่ายได้ในโรงพยาบาล สถานีอนามัยหรือคลินิคที่มีแพทย์แผนปัจจุบันประจาการอยู่เช่น ยาลดความดันโลหิต ยาขับปัสสาวะ ยาลดน้าตาลในกระแสเลือด ยาต้านจุลชีพต่าง ๆเป็นต้น
ยาสามัญประจาบ้าน คือ ยาที่กระทรวงสาธารณสุขคัดเลือกไว้ให้ประชาชนสามารถเลือกใช้ได้เอง โดยไม่ต้องผ่านการควบคุมดูแลจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เนื่องจากยาในกลุ่มนี้สามารถหาซื้อได้โดยทั่วไป ยาสามัญประจาบ้านจะต้องมีขนาดบรรจุ และรายละเอียดบนฉลากตามที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนด โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะต้องมีคาว่า “ยาสามัญประจาบ้าน” กากับไว้บนฉลากอย่างเห็นได้ชัดด้วย
ยาแผนปัจจุบันบรรจุเสร็จที่มิใช่ยาอันตราย คือ ยาแผนปัจจุบันที่กระทรวงสาธารณสุขมิได้จัดให้เป็นยาสามัญประจาบ้าน ยาควบคุมพิเศษ วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท หรือยาเสพติดเนื่องจากเห็นว่าเป็นยาที่ค่อนข้างมีความปลอดภัย แต่ขณะเดียวกันก็ยังมีความไม่เหมาะสมบางประการที่จะจัดเข้าเป็นยาสามัญประจาบ้าน ตัวอย่างได้แก่ ยาแก้ไข้หวัดสูตรผสม และยาใช้ภายนอกหลายชนิดที่โฆษณาอย่างแพร่หลายโดยทั่วไป เป็นต้น
ยาควบคุมพิเศษ คือ ยาแผนปัจจุบันที่ก่อให้เกิดอันตรายได้ง่าย แม้จะใช้อย่างถูกต้อง ยานี้จึงต้องผ่านการควบคุมดูแลในการใช้จากแพทย์โดยใกล้ชิด แพทย์แผนปัจจุบันเท่านั้นที่มีอานาจสั่งจ่ายยาควบคุมพิเศษ เนื่องจากแพทย์แผนปัจจุบันจะมีความรู้ว่าเมื่อใดมีความจาเป็นต้องใช้ และเมื่อใดสมควรจะต้องหยุดการใช้ยานั้น ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้ เช่น Prednisolone , DexamethasoneDexamethasoneเป็นต้น
วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทและยาเสพติดคือ ยาแผนปัจจุบันที่ก่อให้เกิดการเสพติดได้ง่าย และมีผลเปลี่ยนแปลงสภาพทางจิตประสาทของผู้เสพ และมักจะมีผลกระทบโดยตรงต่อสังคมรอบข้าง แพทย์แผนปัจจุบันเท่านั้นที่มีอานาจสั่งจ่ายยาในกลุ่มนี้
ตัวอย่างได้แก่ ยานอนหลับชนิดต่าง ๆ morphine ใช้แก้ปวด เป็นต้น