Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เด็กหญิงไทยอายุ 10 เดือน, Paracetamol drop 0.8 ml oral prn
(100 mg/1 ml),…
เด็กหญิงไทยอายุ 10 เดือน
ติดเชื้อแบคทีเรีย
- Streptococcus pneumoniae
- Group A beta streptococci
-
-
-
-
-
-
- Ventolin syr 2 ml oral tid (2mg/5 ml)
- Ventolin 1 ml up to 4 ml NB q 4 hrs.
prn (2.5 mg/2.5 ml)
-
กลุ่มยา Short Acting β2-Agonist (ยาขยายหลอดลมที่ออกฤทธ์ิกระตุ้นเบต้า 2 บริเวณหลอดลมชนิดออกฤทธ์ิสั้น)
การออกฤทธิ์ : เวนโทลินมีตัวยาสำคัญคือ ชัลบูทามอลในรูปของเกลือซัลเฟตเป็นยากลุ่มสำหรับรักษาโรคหืดและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) ซัลบูทามอลออกฤทธิ์โดยกระตุ้นเอนไซม์อะดีนิลไซเคลส (adenyl cyclase) ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่กระตุ้นการสร้างไซคลิกอะดีโนซีน -3’,5’- โมโนฟอสเฟต (cyclic adenosine -3’,5’- monophosphate ; cAMP) การเพิ่มขึ้นของ cAMP นำไปสู่การกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์โปรตีน
ไคเนสชนิดเอ (protein kinase A) ซึ่งจะยับยั้งการเกิดกระบวนการฟอสโฟรีเลชันของไมโอซีน ซึ่งเป็นอนุพันธ์ที่ส่งผลต่อการหดตัวของกล้ามเนื้อและลด
ระดับความเข้มข้นของแคลเซียมไอออนภายในเซลล์ เป็นผลให้เกิดการคลายตัวของกล้ามเนื้อเรียบ
การพยาบาล : ในเด็กเล็กจัดให้นั่งบนตักมารดาหรือผู้ดูแล ส่วนเด็กโตจัดให้นั่งหรือนอนศีรษะสูง 30 องศา ขณะพ่นยาควรปลอบโยนให้เด็กสงบไม่ร้องไห้ เพราะการร้องไห้ ทำให้ยาเข้าสู่ทางเดินหายใจได้น้อยลง
ขณะพ่นยา ควรเคาะกระเปาะพ่นยา เป็นระยะๆ เพื่อให้ยาตกลงสู่ด้านล่างของกระเปาะให้มากที่สุด พ่นยาต่อจนกระท่ังยาหมด ไม่เห็นฝอยละออง โดยท่ัวไปใช้เวลาประมาณ 10-15 นาที ประเมินการตอบสนองต่อยาพ่นขยาย หลอดลมหลังพ่นยา โดยนับอัตราการหายใจและอัตรา การเต้นของหัวใจ สังเกตลักษณะการหายใจ ฟังเสียงลมเข้าปอด และฟังเสียงหวีดว่าลดลงหรือไม่ รวมถึงสังเกต ผล้างเคียงจากการได้รับยาในขนาดสูง
S/E : เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ เด็กร้องกวนเนื่องจากปวดศีรษะ โพแทสเซียมในเลือดต่ำ เกิดการแพ้ยาในเด็ก หลอดลมเกิดภาวะหดเกร็ง เมื่อใช้ยาในรูปแบบยาสูด จะทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ
-
-
-
-
-
Reference
Ceftriaxone (เซฟไตรอะโซน). (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2563 จาก https://www.pobpad.com/ceftriaxone.
Paracetamol (พาราเซตามอล). (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2563 จาก https://www.pobpad.com/%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%A5-paracetamol.
กนกวรรณ ตันตระเสนีย์รัตน์. (2563). การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะเจ็บป่วยของระบบทางเดินหายใจ. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา NUR60-332 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น 2, นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรคติดต่อ. (2554). บทเรียนการบริบาลโรคติดเชื้อเฉียบพลัน ระบบหายใจในเด็ก: กลุ่มอาการโรคหวัดและปอดบวม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
กัลยพัทธ์ นิยมวิทย์. (2560). การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคหืดในการใช้ยาพ่นสูด: หลักการและแนวปฏิบัติ. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า, 28(2), 192-201.
ดวงเนตร์ ภู่วัฒนาวนิชย์. (2560). ผลของระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อความรู้และความสามารถของมารดาในการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล. วชิรสารการพยาบาล, 19(2), 35-44.
โรคปอดอักเสบ. (ม.ป.ป.). สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2563 จาก http://203.157.15.4/fact/Pneumonia.htm.
สรศักดิ์ โล่ห์จินดารัตน์. (2562). แนวทางการดูแลรักษาโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก พ.ศ.2562 (พิมพ์ครั้งที่ 1), สมาคมโรคระบบหายใจและเวชบำบัดวิกฤตในเด็กราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย: บริษัท บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์ จำกัด.
อรุณวรรณ พฤทธิพันธุ์ และคณะ. (2549). การบำบัดรักษาระบบทางเดินหายใจในเด็ก : สำหรับแพทย์และพยาบาล The Essentail of Pediatric Respiratory Care. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี.