Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบต่อมไร้ท่อ - Coggle Diagram
บทที่ 9
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบต่อมไร้ท่อ
ยาเบาหวาน ( Antidiabetic drugs )
ยาลดระดับน้าตาลในเลือดชนิดรับประทานจ้าแนกตามกลไกการออกฤทธิ์ได้ 4 ประเภทได้แก่
1.ยาที่กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากเบต้าเซลล์ของตับอ่อน (Insulin secretagogues) ยาในกลุ่มนี ยังแบ่งย่อยได้อีก 2 กลุ่ม
1.1 Sulfonylureas ออกฤทธิ์โดยการจับกับ Sulfonylurea receptor
ที่เบต้าเซลล์ของตับอ่อน ยาในกลุ่มนี ได้แก่ Chlorpropamide, glibenclamide , glipizide
1.2 Non-sulfonylurea insulin secretagogues
ออกฤทธิ์กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากเบต้าเซลล์ของตับอ่อน เช่นเดียวกับ Sulfonylurea
แต่ที่ต้าแหน่งต่างกัน ยาในกลุ่มนี ได้แก่ Repaglinide และ nateglinide
ยาที่ลดภาวะดื อต่ออินซูลิน ( Insulin sensitizer)
2.1 Metformin ออกฤทธิ์โดยการยับยั งการสร้างกลูโคสจากตับเป็นหลัก นอกจากนี ยังช่วยให้การออกฤทธิ์ของอินซูลินที่กล้ามเนื อดีขึ นด้วย
2.2 Thiazolidinediones ออกฤทธิ์โดยการกระตุ้น peroxisome proliferator activated receptor gamma ซึ่งอยู่ในเซลล์ไขมันเป็นหลักและมีผลท้าให้การออกฤทธิ์ของอินซูลินดีขึ น ทั งที่เซลล์กล้ามเนื อและเซลล์ไขมัน ยาในกลุ่มนี ได้แก่ Rosiglitazone และ Pioglitazone
ยาที่ออกฤทธิ์ยับยั งเอนไซม์ alpha-glucosidase ที่ผนังล้าไส้ ( alpha-glucosidase inhibitors) ท้าให้การดูดซึมกลูโคสจากทางเดินอาหารเกิดขึ นช้าลง ยาในกลุ่มนี ได้แก่ Acarbose และ Voglibose
Dipeptidyl Peptidase (DPP) IV inhibitors เป็นยาที่ยับยั งเอนไซม์ที่ใช้ในการท้าลายฮอร์โมนที่หลั่งจากล้าไส้ คือ glucagon-like peptide -1 ( GLP-1) และ glucose-dependent insulinotropic polypeptide (GIP) ยาในกลุ่มนี ได้แก่ Sitagliptin และ Vidagliptin
รูปแบบของการบริหาร อินซูลิน ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2
วัตถุประสงค์การใช้อินซูลินประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
1.Basal insulin เป็นอินซูลินที่หลั่งจากตับอ่อนตลอดเวลา ซึ่งจะมีผลในการรักษาระดับกลูโคสในเลือดให้คงที่ โดยจะคอยยับยั งการปลดปล่อยกลูโคสออกจากตับไม่ให้มากเกินไปและยับยั งกระบวนการสลายไขมัน
Prandial insulin เป็นอินซูลินที่หลั่งเมื่อมีการกระตุ้นจากการดูดซึมกลูโคสจากทางเดินอาหาร ท้าหน้าที่น้ากลูโคสไปใช้ในเซลล์ที่ตอบสนองต่ออินซูลิน ในขณะเดียวกันก็ยับยั งการปลดปล่อยกลูโคสจากตับด้วย วิธีที่ดีที่สุดในการให้ prandial insulin คือการให้ regular insulin , insulin lispro หรือ insulin aspart ก่อนอาหารทุกมื อ
Correction dose insulin ควบคุมระดับน้าตาลที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากภาวะอื่น เช่น การได้รับยา Steroid ไม่สบาย ได้รับสารอาหารทางเส้นเลือด
คุณสมบัติของยาเบาหวานแต่ละชนิด
1.Sulfonylureas
ยาในกลุ่มนี กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากเบต้าเซลล์ของตับอ่อนโดยการจับกับ Sulfonylurea receptor ท้าให้เกิดการปิดกั น ATP-sensitive potassium channel ที่เบต้าเซลล์น้าไปสู่ ขบวนการ depolarization และเกิดการเคลื่อนที่ของแคลเซียมเข้าสู่เซลล์โดยผ่านทาง Voltage-dependent calcium channel และน้าไปสู่การกระตุ้นการหลั่งอินซูลิน
Non-Sulfonylurea Insulin secretagogue
ยาในกลุ่มนี ที่จ้าหน่ายในประเทศไทยมีแต่ Repaglinide ยานี ออกฤทธิ์เร็วและระยะเวลาในการออกฤทธิ์สั น จึงแนะน้าให้กินก่อนอาหาร 15 นาที และต้องรับประทานยาก่อนอาหารทุกมื อจึงจะได้ผลดี
Metformin
•ยานี ออกฤทธิ์โดยการกระตุ้น AMP-activated protein kinase ท้าให้การออกฤทธิ์ของอินซูลินดีขึ น โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เซลล์ตับ ท้าให้การสร้างกลูโคสจากตับลดลง และระดับน้าตาลขณะอดอาหารลดลง
Alpha-glucosidase inhibitors
•ยาในกลุ่มนี ได้แก่ Acarbose และ Voglibose ยานี ออกฤทธิ์โดยการยับยั งเอนไซม์ alpha-glucosidase ที่ผนังล้าไส้ เอนไซม์นี มีหน้าที่ย่อย Complex carbohydrate และ oligosaccharide ให้เป็น Monosaccharide การยับยั งเอนไซม์นี จึงท้าให้การดูดซึมกลูโคสช้าลง ยานี มีผลลดระดับน้าตาลหลังมื ออาหารเป็นส่วนใหญ่
Thiazolidinediones
•ยาในกลุ่มนี ได้แก่ rosiglitazone และ pioglitazone เป็นยาที่ออกฤทธิ์ลดระดับน้าตาลโดยการลดภาวะดื อต่ออินซูลิน ยานี ออกฤทธิ์ส่วนใหญ่ที่เซลล์ไขมัน โดยการกระตุ้น nuclear receptor ที่ชื่อ peroxisome proliferator-activated receptor gamma ท้าให้ขบวนการสลายไขมันและปริมาณกรดไขมันอิสระลดลง นอกจากนี ยังมีผลต่อฮอร์โมนและสารต่างๆที่สร้างและหลั่งจากเนื อเยื่อไขมัน
Dipeptidyl peptidase -4 inhibitors
•ยาในกลุ่มนี ออกฤทธิ์ลดระดับน้าตาล โดยเพิ่มการออกฤทธิ์ของฮอร์โมนที่หลั่งจากทางเดินอาหารที่ส้าคัญ คือ glucagon - like peptidase (GLP-1)และ glucose –dependent insulinotropic peptide (GIP) หลั่งจาก K cells ที่อยู่ที่กระเพาะอาหารและล้าไส้เล็กส่วนต้น ส่วน GLP-1 หลั่งจาก L cells ซึ่งอยู่ที่ ileum และ colon ฮอร์โมนทั ง 2 ชนิดนี มีผลกระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากเบต้าเซลล์ โดยการกระตุ้นแบบ Glucose dependent คือการหลั่งอินซูลินจะเกิดขึ นเมื่อระดับน้าตาลในเลือดสูงเท่านั น
การใช้ยาฉีดอินซูลิน
Human insulin ถูกคิดค้นเพื่อน้ามาใช้ควบคุมระดับน้าตาลในเลือดในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 และในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 บางราย ต่อมามีการผลิตอนุพันธ์ของอินซูลิน (insulin analogue)โดยเปลี่ยนโครงสร้างของอินซูลินให้ออกฤทธิ์ได้ดีขึ น ใกล้เคียงกับอินซูลินที่หลั่งออกมาจากตับอ่อนและลดปัญหาภาวะน้าตาลต่้า
ชนิดของอินซูลินสามารถแบ่งอินซูลินตามระยะเวลาในการออกฤทธิ์ ได้เป็น 4 ประเภท คือ
1.Rapid acting insulin เป็นอนุพันธ์ของอินซูลิน (insulin analogue) ที่ได้จากการเปลี่ยนแปลง amino acid บางตัวบนสายอินซูลิน ได้แก่ Insulin lispro insulin aspart insulin glulisine
Short acting Insulin
Intermediate-acting insulin
Long acting insulin
Premixed insulin
การเก็บรักษาอินซูลิน
อินซูลินที่เก็บไว้ใช้นานๆ ควรเก็บในตู้เย็นที่อุณหภูมิ 2 – 8 องศาเซลเซียส โดยวางตามชั นต่าง ๆ ในตู้เย็น ยกเว้นช่องท้าน้าแข็งและบริเวณใกล้ดวงไฟ
อินซูลินที่เปิดฝาแล้วส้าหรับใช้ฉีดทุกวัน ถ้าเก็บไว้ที่อุณหภูมิห้อง (30 องศาเซลเซียส) จะอยู่ได้นาน 1 เดือนจะเก็บในตู้เย็นที่อุณหภูมิ 2- 8 องศาเซลเซียส อยู่ได้นาน 3 เดือน
เมื่อต้องเดินทางไกล ไม่จ้าเป็นต้องแช่ขวดอินซูลินในกระติกน้าแข็ง เพียงระวังไม่ให้ถูกแสงแดด หรือความร้อนอบอ้าวหรือทิ งไว้ในรถที่มีอุณหภูมิสูง เมื่อถึงที่พักควรน้าขวดอินซูลินเก็บไว้ในที่เย็นหรือแช่ในตู้เย็นถ้ามี
ก่อนใช้ควรตรวจสอบป้ายแสดง วัน เวลา ยาหมดอายุข้างขวดควรจดบันทึกไว้ต่างหากเนื่องจากสลากยาอาจหลุดลอกไปได้
วิธีเตรียมยาฉีด
อินซูลินชนิดน้าใสไม่ต้องคลึงขวดให้น้ายาคืนรูปก่อนที่จะดูดยา
อินซูลินชนิดน้าขุ่นต้องคลึงขวดให้น้ายาคืนรูปก่อนดูดน้ายา
ต้าแหน่งที่อินซูลินดูดซึมได้ดีที่สุด คือ บริเวณหน้าท้อง รองลงมาคือ ต้นแขนด้านนอก และหน้าขาตามล้าดับ
โรคทางต่อมไทรอยด์
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม
1.กลุ่มที่เกิดจากความผิดปกติของการท้างานของต่อมไทรอยด์ (Thyroid dysfunction) ได้แก่ ภาวะ hyperthyroidism และภาวะ hypothyroidism
โรคก้อนของต่อมไทรอยด์ (Nodular thyroid disease) ได้แก่
solitary thyroid nodules และ multiple nodular goiter
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบสืบพันธ์สตรี
»ยาคุมก่าเนิด
»ยาเลื่อนประจ่าเดือน
»ยาปรับฮอร์โมน
»ฮอร์โมนทดแทน