Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 ภูมิหลังทางเศรษฐกิจของญี่ปุ่นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 : - Coggle…
บทที่ 8 ภูมิหลังทางเศรษฐกิจของญี่ปุ่นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 :
8.1 ปัจจัยที่ส่งเสริมการพัฒนาด้านเศรษฐกิจของญี่ปุ่น
1) คุณลักษณะพิเศษในการทำงานของชาวญี่ปุ่น
• ความกระตือรือร้นขยันขันแข็ง
• การแสวงหาความรู้
• ยอมรับการจัดการของรัฐ
• ประหยัดมัธยัสถ์
• ตรงต่อเวลา
• มีความพิถีพิถันใส่ใจรายละเอียด
• ให้ความสำคัญในการทำงานเป็นทีม
• ความรับผิดชอบ
• ซื่อสัตย์ จงรักภักดี
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยภายนอก 1) บทบาทของสหรัฐอเมริกา
1) การสลายกำลังทางทหาร (Demilitarization)
การร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
โดยเฉพาะมาตรา 9 กำหนดว่าญี่ปุ่นสามารถมีเพียง
จำกัดการพัฒนาอาวุธ
ส่งผลทางอ้อมให้ญี่ปุ่นพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเต็มที่
2การทำให้เป็นประชาธิปไตย (Democratization)
ในปี 1946 สหรัฐได้ทำการปฏิรูปที่ดินในญี่ปุ่นเพื่อความเสมอภาค
3) การสลายการผูกขาด (De-monopolization)
ออกกฎหมายเพื่อสลายกลุ่มอำนาจทางเศรษฐกิจหรือที่เรียกว่า กลุ่ม 財閥 (Zaibatsu) + สหภาพแรงงาน
-สหรัฐฯผลักดันให้ญี่ปุ่นเร่งพัฒนาอุตสาหกรรม สนับสนุนวัตถุดิบและพลังงาน
2)ระบบการจ้างงานตลอดชีพ (Life Time Employment)
• ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2
• เกิดการจลาจลของแรงงาน+การเปลี่ยนงานบ่อย
• สร้างความผูกพันของพนักงานให้จงรักภักดีต่อบริษัท
• ทำให้พนักงานอยู่กับบริษัทนานจนเกิดความชำนาญ
3) ผลจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 2 (ปี 1931-1945)
• อุตสาหกรรมเบา เช่น โรงงานเย้บผ้า
• อุตสาหกรรมหนัก เช่น อุตสาหกรรมเหล็กกล้า อุตสาหกรรมเคมี (สำหรับผลิตอาวุธช่วงสงคราม)
เป็นรากฐานของการพัฒนาทางเศรษฐกิจของญี่ปุ่น
2) สงครามเกาหลี (ปี 1950-1953) :
ญี่ปุ่นเป็นฐานการผลิตสินค้าให้แก่กองกำลังของสหรัฐอเมริกาเช่น เครื่องนุ่งห่ม ผ้าฝ้าย ผ้าห่ม
ญี่ปุ่นยังเป็นฐานที่พักของทหารอเมริกัน
ทำให้สินค้าและบริการของญี่ปุ่นขยายตัวเป็นอย่างมาก
5) บทบาทของภาครัฐและการมีเป้าหมายชัดเจนในการพัฒนาประเทศ
ประเทศญี่ปุ่นได้ขึ้นชื่อว่าเป็น “บริษัทญี่ปุ่นจำกัด”
1) คลังสมองของภาคอุตสาหกรรมและการค้า
2) ทำหน้าที่คัดเลือกและควบคุมประเภทของการผลิต
3) การให้การสนับสนุนเงินทุน หรือเงินกู้ยืมดอกเบี้ยต่ำ
4) งบประมาณในการลงทุน คนญี่ปุ่นออมเงินผ่านธนาคารและไปรษณีย์ (ได้ดอกเบี้ยสูงและไม่ต้องเสียภาษี)
6) ความสามารถในการพัฒนาเทคโนโลยี ยุคเริ่มแรกของการเปลี่ยนจากเกษตร
• นำเข้าเทคโนโลยี (จากสหรัฐอเมริกา/ยุโรปตะวันตก)
ดัดแปลง ปรับปรุง
• จนสามารถส่งออกได้
• จนสามารถส่งออกได้ เช่น โซนี่ ผลิตหลอดภาพสี
8.2 ภูมิหลังทางเศรษฐกิจของญี่ปุ่นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
1การฟื้นฟูเศรษฐกิจช่วงทศวรรษ 1940
รัฐบาลเน้นฟื้นฟูเศรษฐกิจ ทั้งการผลิต การค้า การเงิน การคลัง
เศรษฐกิจญี่ปุ่นเริ่มฟื้นตัวปี 1945-1952
2การขยายตัวทางเศรษฐกิจช่วงทศวรรษ 1950-1970
ในช่วงปี 1950-1960ผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคหรือสินค้าที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
ในช่วงปี 1960 - 1970 ญี่ปุ่น ผลิต 3C และลงทุนด้านเทคโนโลยีและพัฒนาสินค้าที่มีเทคโนโลยีที่สูงขึ้น ส่งออกไปขายทั่วโลก การร่วมทุนกับสหรัฐอเมริกาและชาติตะวันตก
3เศรษฐกิจชะลอตัวช่วงทศวรรษ 1970-1980
ในช่วง 1970 - 1980
เศรษฐกิจญี่ปุ่นขยายตัวลดลง
ภาวะเศรษฐกิจถดถอยช่วงทศวรรษ 1980-2000
ในช่วงทศวรรษ 1980 ญี่ปุ่นย้ายไปลงทุนในต่างประเทศมากขึ้น
สถาบันการเงินผ่อนปรนการกู้เงิน
1) เงินในระบบมีมาก 2) เชื่อมั่นในภาครัฐ
ก่อให้เกิดการเก็งกำไรมากขึ้น
ภายหลังฟองสบู่แตกในญี่ปุ่นประมาณปี 1991 ญี่ปุ่นเข้าสู่ทศวรรษที่สูญหาย (Lost Decades)
ภาวะเศรษฐกิจถดถอยครั้งแรก ผลกระทบจากวิกฤติวิกฤติต้มยำกุ้ง ช่วงปี 1997-1998
ภาวะเศรษฐกิจถดถอยครั้งที่สอง เกิดการหดตัวทางการเงินทั่วโลก
ในปี 2008 การล้มละลายของธนาคารเก่าแก่ของสหรัฐอเมริกา
เผชิญกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ