Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่16 การศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็นพลเมือง - Coggle Diagram
บทที่16 การศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็นพลเมือง
ความหมายของการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง
เป็นการพัฒนาการเมืองไทยโดยสร้างประชาธิปไตยที่ “คน”
การฝึกฝนในเรื่องประชาธิปไตย
ชั้นประถม
ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
ความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม
ชั้นมัธยมต้น
การเมืองการปกครอง การปกครองในระบอบประชาธิปไตย
ประวัติศาสตร์การเมือง
ชั้นมัธยมปลาย
รัฐธรรมนูญและการปกครองโดยกฎหมาย
จบชั้นมัธยมปลาย
อายุ 18 ปีบริบูรณ์ มีความเป็นพลเมืองที่สมบูรณ์
โดยมีการใช้สิทธิของตนเองในการไปเลือกตั้ง
แนวคิดการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็นพลเมือง
3- เคารพความแตกต่าง
4- เคารพสิทธิผู้อื่น
2-เคารพหลักความเสมอภาค
5- เคารพกติกา
1-ความรับผิดชอบต่อตนเองและพึ่งตนเองได้
6- รับผิดชอบต่อสังคมและส่วนรวม
การเรียนการสอนการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองในต่างประเทศ
วัฒนธรรมชุมชนกับพหุวัฒนธรรมของความเป็นพลเมือง
พลเมืองควรมีความสามารถในการรักษาวิถีวัฒนธรรมและความเป็นอยู่ของชุมชน
ตระหนักให้เห็นคุณค่าจากทั้งความเป็นกลุ่มชน วิถีวัฒนธรรมของกลุ่มชนและวัฒนธรรมความเป็นพลเมือง
การช่วยเหลือให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาวัฒนธรรมทังระดับชาติและสากล : นักเรียนจะได้รับการพัฒนาทางความคิด และลักษณะเฉพาะที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมของชุมชนและความเป็นรัฐชาติ
ความจำเป็นต้องรู้มโนทัศน์ใหม่ของการศึกษาความเป็นพลเมือง : พลเมืองจำเป็นต้องมีความรู้ มีทัศนคติและมีทักษะที่จำเป็นสำหรับการทำงานในกลุ่มชนและในวัฒนธรรมของพวกเขา
การซึมซับจากการเข้าใจผิดเกี่ยวกับการศึกษาความเป็นพลเมือง
การซึมซับหรือการยอมรับแนวคิด เป็นวิธีที่ดีที่สุดที่จะลดความรุนแรงเกี่ยวกับเรื่องพรมแดนทางชุมชน
การยอมรับในมุมมองของสังคมอุดมคติ แสดงให้เห็นถึงความผูกพันของกลุ่มชน และเชื้อชาติ
สถานะของชุมชนและการซึมซับ หรือการยอมรับแนวคิดในการอยู่ร่วมกันเป็นรัฐชาติสมัยใหม่ หากมีการพัฒนาไปมากขึ้นเท่าไหร่ ก็ย่อมเจริญเติบโตเท่านั้น
ความสมดุลในความหลากหลายและเอกภาพ
: การรวมกลุ่มคนที่มีความหลาหลายด้านต่างๆเข้าด้วยกัน เพื่อให้เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของและจงรักภักดีในกลุ่มชนของตนเอง
การพัฒนาสร้างความสมดุลของวัฒนธรรม
ครูจะต้องให้นักเรียนได้รับการพัฒนาในเรื่องการสะท้อนคิด และความรู้เกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของวัฒนธรรม
ช่วยให้นักเรียนมีความกระจ่างและมีความเป็นปึกแผ่นในความเป็นรัฐชาติ
การศึกษาพหุวัฒนธรรมของความเป็นพลเมือง ความรู้และการกระทำ
พหุวัฒนธรรมของความเป็นพลเมือง จะเป็นการดำเนินชีวิตในวิถีชีวิตความเป็นชุมชนและเชื้อชาติ เพื่อให้บุคคลมีความเป็นมนุษยธรรมมากขึ้น
พหุวัฒนธรรมของความเป็นพลเมือง ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงวิธีการดำเนินชีวิตในยุคของโลกที่มีการเปลี่ยนแปลง โดยจีมีแนวคิดและการปฏิบัติตนในความเป็นพลเมืองที่มีประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์และแนวคิดการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็นพลเมือง
รูปแบบการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็นพลเมือง
รูปแบบการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็นพลเมืองตามแนวคิดของ Cohen (2011)
1) การศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็นพลเมืองเชิงเสรีภาพ
2) การศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็นพลเมืองเชิงความหลากหลาย
3) การศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็นพลเมืองเชิงวิพากษ์
4) การศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็นพลเมืองเชิงสาธารณรัฐ
บทบาทของผู้บริหารและครูในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็นพลเมือง
ดัชนีบ่งชี้คุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรียนที่เหมาะกับการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาความเป็นพลเมืองดี
2) ความสามารถในการนำ คุณลักษณะของการริเริ่ม การเป็นผู้คิดก่อน
1) ความรู้ความเข้าใจเนื้อหาวิชาการ
3) ความสามารถในการประสานงานประสานความคิด
4) ความสามารถในการส่งเสริม
5) ความสามารถในการประเมินและพัฒนา
6) ความประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรมจริยธรรมของวิชาชีพและสังคม
ยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จัดให้มี “คู่มือการจัดการเรียนการสอนเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองในเชิงกระบวนการ”
ให้มีหน่วยงานรับผิดชอบติดตามประเมินผลเพื่อคัดเลือกกรณีตัวอย่างหรือโรงเรียนตัวอย่าง เพื่อเผยแพร่และขยายผลต่อไป
ผู้บริหารและศึกษานิเทศก์เขตพื้นที่การศึกษาเป็นแกนนำในการเป็นตัวอย่างการเป็นพลเมืองที่ดี
บูรณาการสาระความเป็นพลเมือง ในส่วนที่หลักสูตรกำหนดให้สถานศึกษาจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เชท่อมโยงกับวิถีชีวิตไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของเวลาเรียน
ผู้บริหารสถานศึกษาต้องบริหารสถานศึกษาและสร้างวิถีชีวิตและบรรยากาศให้เป็นประชาธิปไตย
พัฒนากระบวนการเรียนการสอนและกิจกรรมในเชิงปฏิบัติ
ชั้นประถม : ฝึกความรับผิดชอบต่อตนเอง คนอื่น สังคม เคารพกติกา เคารพสิทธิผู้อื่น เคารพความแตกต่าง
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น : ฝึกความเป็นพลเมืองของโรงเรียน เช่น คิดถึงส่วนรวม จิตสาธารณะทำโครงงานเพื่อแก้ปัญหา
ชั้นอนุบาล : ฝึกฝนเคารพกติกาแบบง่ายๆ เช่น การแบ่งปัน การรอคอย ขอโทษ ให้อภัย
ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย/ประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) : ทำโครงงานแก้ปัญหา โดยแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมด้วย
ปรับและทบทวนเนื้อหาสาระการเรียนรู้ในวิชาหน้าที่พลเมือง
เร่งให้เกิดวัฒนธรรมองค์กรในสถานศึกษา
ระดับอุดมศึกษา
เปลี่ยนการเรียนการสอนเป็น Service Learning หรือการเรียนเพื่อบริการสังคม และการบริการสังคมเพื่อมาเรียน
ส่งเสริมหรือกำหนดให้มี “วิชาพลเมือง” ในหลักสูตร “วิชาการศึกษาทั่วไป” นักศึกษาทุกคนต้องเรียน
ตัวอย่างการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็นพลเมือง
วิธีการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็นพลเมืองในหลักสูตรจะนิยม 3 วิธีการ
1) เรียนเป็นรายวิชา
2) การศึกษาข้ามรายวิชา โดยสอดแทรกเนื้อหาในทุกรายวิชาในหลักสูตร
3) บางประเทศมีการกำหนดเป็นประกาศหรือข้อบังคับของรัฐและบางประเทศที่ไม่ได้ประกาศเป็นข้อบังคับ
ความหมายของการศึกษาความเป็นพลเมือง
การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง
เน้นให้ผู้เรียนได้มีเครื่องมือสำหรับการเตรียมตัวเป็นพลเมืองดี
ความหมายของการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง
การศึกษาที่เกี่ยวกับความเป็นพลเมือง
สอนให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติของประเทศ โครงสร้าง กระบวนการทางการเมือง
การศึกษาผ่านความเป็นพลเมือง
การเรียนรู้โดยการลงมือทำของผู้เรียนเพื่อให้เกิดประสบการณ์โดยตรง
ความเป็นพลเมือง
สถานะของการมีสิทธิ์ สิทธิประโยชน์ และภาระหน้าที่ของพลเมือง
พลเมือง
สมาชิกพื้นเมืองของรัฐหรือชาติ ซึ่งมีความจงรักภักดีต่อรัฐบาลและมีสิทธิ์ได้รับความคุ้มกัน
คุณลักษณะความเป็นพลเมืองและพลโลกตามแนวคิดศตวรรษที่ 21
ด้านทักษะ
การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีส่วนตัดสินใจในระดับชาติ
ความสามารถที่จะแสดงความสนใจ ความช่วยเหลือในการแก้ปัญหาชุมชนหรือท้องถิ่น
ความสามารถในการหาจุดร่วมในสถานการณ์ที่เกิดขึ้นทางสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ
ความสามารถในการสร้างผลประโยชน์จากโอกาสที่ได้รับ
ด้านเจตคติ/ค่านิยม/จริยธรรม
ความรู้สึกในความเป็นเจ้าของชุมชน ประเทศ และโลก
ความตั้งใจที่จะมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น
มีแนวโน้มที่จะอาสาสมัครและมีส่วนร่วมกับกิจกรรมพลเมือง
พร้อมจะให้ความเคารพ ค่านิยม และความเป็นปัจเจกของผู้อื่น
ซาบซึ้งและเข้าใจความแตกต่างระหว่างระบบค่านิยมที่แตกต่างกัน
พิจารณาไตร่ตรองข้อมูลสารสนเทศจากสื่อต่างๆ
ด้านความรู้
ความรู้เกี่ยวกับเหตุการณ์สำคัญ ประวัติศาสตร์โลก
ความรู้เกี่ยวกับความเคลื่อนไหวของผู้คนและประเพณีที่เกิดขึ้นตามช่วงเวลารอบโลก
เข้าใจแนวคิดของประชาธิปไตย ความเป็นพลเมือง และคำแถลงการณ์
ความรู้เกี่ยวกับบุคคลสำคัญทางการเมืองการปกครอง
ความรู้เกี่ยวกับสิทธิพลเมืองและรัฐธรรมนูญ ระบอบการปกครอง
ความเข้าใจบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบของสถาบันที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสร้างนโยบายในระดับท้องถิ่น ภูมิภาคแลชาติ
โดยมีการใช้สิทธิของตนเองในการไปเลือกตั้ง
1947 เสนอแนะการศึกษาเกี่ยวกับการเป็นพลเมืองที่ดีจากบทเรียนในชั้นเรียน
1960-1970 พัฒนาการศึกษาด้านสังคมอย่างแพร่หลาย
1988 ออกบทบัญญัติในการศึกษาข้ามรายวิชา คือ การเรียนรู้เพื่อการเป็นพลเมือง
1945 ฟื้นฟูการศึกษาทางตรง สนับสนุนให้วิชาทางด้านสังคมเป็นวิชาบังคับ
1934 สนับสนุนการเรียนรู้เพื่อความเป็นพลเมือง เน้นการศึกษาทางตรงในรายวิชา
ผลการสังเคราะห์คุณลักษณะความเป็นพลเมือง
6) คิดแบบพลเมืองดี มีอิสรเสรีอย่างเสรีชน
7) รู้ทันรู้นำสถานการณ์ เข้าใจวิทยาการและกระแสสังคม
5) ยึดมั่นศีลธรรมในจิตใจ ดำรงความเป็นไทยอย่างสากล
4) ยอมรับความแตกต่าง สร้างสรรค์สิ่งที่ดีงามในสังคมพหุวัฒนธรรม
3) รู้จักสิทธิและหน้าที่ เป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
2) มีจิตสาธารณะ เสียสละเพื่อส่วนรวม
1) รับผิดชอบต่อหน้าที่ ปฏิบัติดีและพึ่งตนเอง