Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้คลอดเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอดและการส่งเสริมสุขภาพในระยะคล…
การดูแลผู้คลอดเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอดและการส่งเสริมสุขภาพในระยะคลอด
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวข้องกับความเจ็บปวด
ในระยะคลอด
อาการเจ็บครรภ์เกิดขึ้นการเจ็บครรภ์เกิดจากการหดรัดตัวของมดลูก และการถ่างขยายของปากมดลูกชั่วขณะ กระบวนการคลอดตลอดจนมีการเคลื่อนต่ าของส่วนน าและการเปิดขยายของปากมดลูกตลอดเวลาความปวดที่เกิดขึ้นจะหายไปเมื่อสิ้นสุดกระบวนการคลอด
ทฤษฎีควบคุมประตู (Gate control theory)อาการเจ็บครรภ์ และกลไกระบบต่างๆ ในร่างกาย พลังประสาทของความเจ็บปวด จะถูกปรับสัญญาณในระดับไขสันหลังก่อนส่งขึ้นไปรับรู้ในระดับสมอง
การจัดการความเจ็บปวดในระยะคลอดโดยการใช้ยา
ให้ยา Pethidine / Fentanyl ตามแนวปฏิบัติในการบริหารยา
ห้ในกรณีที่ผู้คลอดอยู่ในระยะ Activeปากมดลูกเปิด มากกว่า 3 ซ.ม.หรือในกรณีที่ผู้คลอดไม่สามารถเผชิญความเจ็บปวดได้เหมาะสมและต้องการยาแก้ปวดโดยพยาบาลผู้ดูแลจะรายงานแพทย์เพื่อพิจารณาให้ยาแก้ปวด Pethidine หรือยา Fentanyl ในกรณีที่ผู้คลอดเป็นหอบหืด
แนวทางการจัดการยาPethidine( Meperidine )
สั่งยา Pethidineเป็น mg และวิธีการให้ยาชัดเจน เช่น การ dilute ฉีดช้าๆ doseที่ใช้คือ pethidine 50 mgIV push ช้าๆใช้เวลาอย่างน้อย 3-5 นาที
ไม่สั่งผสมยาฉีด Pethidineร่วมกับยาอื่น
ดูแลให้ยา pethidine 50 mgIV push ช้าๆใช้เวลาอย่างน้อย 3-5 นาที
สังเกต / ซักถามอาการของผู้คลอดขณะให้ยาตลอดเวลา ถ้ามีอาการหายใจฝืด หายใจล าบากให้หยุดยา และรายงานแพทย์ทันที
ติดตามอาการข้างเคียง ได้แก่อาการหน้ามืดใจสั่น เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียนเฝ้าระวังป้องกัน การตกเตียง นำไม้กั้นเตียงขึ้นและดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
แนวทางการจัดการยาFentanyl
ห้ามให้ผู้ป่วยที่แพ้มอร์ฟินหรือสารที่ออกฤทธิ์เหมือนมอร์ฟิน
ขนาดยาที่ใช้คือ 1 mcg/kg จัดเตรียมยาโดยเจือจางsterile water for injection
ฤทธิ์ของยาและฤทธิ์ข้างเคียงเช่น ภาวะกดการหายใจ กล้ามเนื้อกระตุก อาการหน้ามืด เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ให้ผู้ป่วยหลับตาขณะ pushยา เพื่อลดอาการเวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
ให้ยาแบบIV push ช้า ๆ ใช้เวลาอย่างน้อย 3-5 นาที
เตียมยา Narcan(Naloxone) ซึ่งเป็นAntidoseของ Fentanyl
การดูแลเพื่อบรรเทาความปวดโดยไม่ใช้ยา
การลดตัวกระตุ้นความปวด
การเคลื่อนไหว
-การนั่งเก้าอี้ที่กลับหลังและซบหน้าบนพนักพิงเก้าอี้ (sitting backwards on a chair)
-การนั่งเก้าอี้โยก(rocking. )
-การนั่งเอียงไปมาบนลูกบอล (swaying)
การเดิน
-นั่งยอง
ท่า
ท่าศีรษะและลำตัวสูง(upright position)
เป็นท่าที่ศีรษะและกระดูกสันหลังทำมุม 30-90 องศา
ท่ากึ่งนั่ง (semi sitting position)
ท่าร็อกกิ้ง (rocking motion)
ท่านั่ง (sitting position)
ท่านั่งยอง(squatting position)
ท่าคุกเข่า(all four or hands and knees position)
ช่วยการหมุนของศีรษะให้ท้ายทอยมาอยู่ด้านหน้าช่องเชิงกรานได้ท่านี้ช่วยในรายที่มีการคลอดติดไหล่
ท่าพีเอสยูแคท(PSU Cat)
ท่าคุกเข่าโน้มตัวไปข้างหน้าโอบแขนและพักบนลูกบอลที่มีความสูงระดับไหล่
ท่านั่งยอง
การกระตุ้นประสาทส่วนปลาย
การประคบร้อน และเย็น
การสัมผัส การนวด และการกดจุด
(abdominal eff leurage)การลูบหน้าท้อง
การนวดบรรเทาความปวดตามทฤษฎีควบคุมประตู ช่วยกระตุ้นต่อมใต้สมองให้หลั่งสารเคมีมีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีนจะออกฤทธิ์ควบคุมความเจ็บปวดให้เน้นบริเวณไหล่ หลัง กระเบนเหน็บ และต้นขา การนวดจะลงน ้าหนักที่กล้ามเนื้อมากกว่าการลูบ ผู้นวดต้องผ่านการอบรม
การกดจุดเป็นการกระตุ้นปลายประสาทขนาดใหญ่ กดจุดที่ตาแหน่งเอสพี6 (SP6) อยู่เหนือข้อเท้าแอลไอ4 (LI4) หรือจุดเหอกู่ (Hegu) อยู่ระหว่างนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ส่วนแรก และบีแอล 67 (BL67)อยู่บริเวณปลายนิ้วก้อยของนิ้วเท้าต้องได้รับการฝึกถูกต้องตามหลักการแพทย์แผนโบราณของจีน
การส่งเสริมการยับยั้งการส่งกระแสประสาทจากไขสันหลังในระดับสมอง
การใช้ดนตรี เสียงดนตรีจะเคลื่อนผ่านในลักษณะคลื่น และเปลี่ยนการสั่นสะเทือนของเสียงเป็นกระแสประสาทส่งไปสมอง ดนตรีบรรเลงช่วยให้ผู้ฟังผ่อนคลาย มากกว่าเพลงที่มีเนื้อร้อง
การเพ่งและเบี่ยงเบนความสนใจ(attention-focusing and distraction) เช่น ให้เดินพูดคุยหรืออ่านหนังสือ
สุคนธบำบัด
เป็นการใช้น้ำมันหอมระเหยจากพืชหอม เช่น กดอกไม้ ใบไม้ เปลือกไม้ เป็นต้น ส่วนใหญ่จะใช้สูดดม
การใช้เทคนิคการหายใจ(breathing technique)
วิธีหายใจในระยะปากมดลูกเปิดช้า
ระยะ Cx< 3เซนติเมตร ควรรหายใจแบบช้า (slow-deep chest breathing) คือ เมื่อมดลูกเริ่มหดรัดตัวให้ผู้คลอดหายใจยาวและลึกเพื่อล้างปอด1 ครั้งจากนั้นหายใจเข้าทางจมูกช้าๆ นับ1-4 แล้วผ่อนลมหายใจออกทางปากช้าๆ นับ1-5
วิธีหายใจในระยะปากมดลูกเปิดเร็ว
หายใจแบบเร็วตื้นและเบา (shallow accelerated decelerated breathing)ใช้ในระยะปากมดลูกเปิด 4-7เซนติเมตร
หายใจแบบหอบสลับเป่าปาก (shallow breathing with forced blowing out หรือ pant-blow breathing)ส าหรับระยะเปลี่ยนผ่าน (transitional phase)ปากมดลูกเปิด 8-10เซนติเมตร
การเบ่งคลอด(pushing)
ให้ผู้คลอดเบ่งเองตามที่รู้สึกอยากเบ่ง หรือเบ่งภายใต้การสอนและควบคุมโดยพยาบาลผดุงครรภ์ ซึ่งการเบ่งคลอดจ าแนกเป็น
การเบ่งคลอดแบบวัลซัลวา(valsalvapushing) หรือกลั้นหายใจนานมากกว่า 6 วินาทีขณะเบ่งคลอด
การเบ่งคลอดแบบเปิดกล่องเสียง(opened glottis pushing)แต่การเบ่งคลอดแบบเปิดกล่องเสียง คือให้ผู้คลอดออกเสียงเบาๆ หรือมีลมเล็ดลอดขณะเบ่งได้ และใช้เวลาเบ่งแต่ละครั้งนาน 4–8วินาที
ปฏิกิริยาและการตอบสนองต่อความเจ็บปวดผู้คลอดและทารกในครรภ์ในระยะคลอด
ด้านมารดา
มดลูกไวต่อความเจ็บปวด
กล้ามเนื้อลายและหลอดเลือดหดตัว เกิด lactic acid และ acidosis ปวดกล้ามเนื้อระบบทางเดินอาหารลดลง
กระตุ้นระบบประสาทซิมพาเธติค PR RR BP สูงขึ้น หลอดเลือดหดตัว ปลายมือปลายเท้าเย็น คลื่นไส้อาเจียน
วิตกกังวล กลัว เศร้า โกรธ อารมณ์เปลี่ยน หงุดหงิด โมโหง่าย ไม่มีสมาธิ จำข้อมูลไม่ได้ ถอยหนี แยกตัว เบื่ออาหาร นอนไม่พอ เหนื่อยล้า ความอดทนลดลง
น้ำเสียงเปลี่ยนไป กระสับกระส่าย
ด้านทารก
ขณะเจ็บครรภ์เกิดfetal distress(ขาดออกซิเจน) FHR มีภาวะlate decelerationสมองของทารกอาจได้รับความกระทบกระเทือนจากการหดรัดตัวของมดลูก
การส่งเสริมความสุขสบายในระยะคลอด
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
ให้ผู้คลอดบ้วนปากบ่อยๆและให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำเพียงพอเพราะ NPOช่องปากจะแห้ง ริมฝีปากอาจแตก
เช็ดตัวเปลี่ยนเสื้อผ้าให้หากพบว่าเปื้อน หรือมีสิ่งคัดหลั่งทางช่องคลอดเปรอะเปื้อน ต้องเช็ดท าความสะอาด และใช้ผ้าแห้งรองใต้ก้น
การช่วยให้ผู้คลอดเผชิญกับความปวดและความไม่สุขสบาย
การดูแลผู้คลอดให้เผชิญความปวดโดยไม่ใช้ยานั้น มีหลากหลายวิธี อาจเลือกเพียงหนึ่งวิธีหรือใช้หลายวิธีมาผสมผสานกัน
สามารถให้ยาลดปวดได้ตามแผนการรักษาของแพทย์
ควรค านึงถึงปัจจัยที่มีผลต่อความปวดของผู้คลอด ทั้งทางกาย จิตใจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม
การดูแลสิ่งแวดล้อม
จัดให้มีความเป็นส่วนตัวมากเท่าที่จะทำได้ เช่น กั้นม่าน เป็นต้น ปูเตียงด้วยผ้าสะอาด แห้ง ให้เรียบตึง เสื้อผ้าที่สะอาดและแห้ง
มีผ้ารองเลือดหรือน้ำคร่ำใต้ก้นผู้คลอด เปลี่ยนผ้าให้ทุกครั้งที่ผ้าชุ่ม
อนุญาตให้ญาติเฝ้าคลอดได้