Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบต่อมไร้ท่อ - Coggle Diagram
บทที่ 9
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบต่อมไร้ท่อ
โรคเบาหวาน
-เป็นภาวะที่น้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ
-เกิดจากการขาดฮอร์โมนอินซูลินหรือจากการดื้อต่อฤทธิ์ของอินซูลิน
-ทำให้ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตาปกติ
-น้ำตาลในเลือดที่สูงอยู่เป็นระยะเวลานานทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนของอวัยวะต่างๆ
อาการของโรคเบาหวาน
-ปัสสาวะบ่อยและมาก ปัสสาวะตอนกลางคืนบ่อย
-หิวบ่อยกินจุแต่น้ำหนักลด อ่อนเพลีย
-ร่างกายเอาน้ำตาล glucose ไปใช้เป็นพลังงานไม่ได้เพราะ Insulin ไม่เพียงพอ จึงมีการสลายพลังงานออกจากไขมันและกล้าม
-คอแห้ง กระหายน้ำ ดื่มน้ำมาก เป็นผลที่ร่างกายสูญเสียน้ำมากจากการปัสสาวะ
-แผลจะหายยาก มีการติดเชื้อตามผิวหนังเกิดฝีบ่อย
-น้ำตาลสูงทำให้ความสามารถของเม็ดเลือดขาวในการกำจัดเชื้อโรคลดลง
-คันตามผิวหนัง มีการติดเชื้อราโดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณช่องคลอดของผู้ป่วยเพศหญิง
-ตาพร่ามัว
-ชาตามปลายมือปลายเท้า หย่อนสมรรถภาพทางเพศ
ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคเบาหวาน
-น้ำหนักเกิน-กรรมพันธุ์ -เครียดเรื้อรัง -อื่นๆ เช่นจากเชืื้อโรคหรือยาบางชนิด(เหล้า) ทำลายตับอ่อนทำให้สร้างอินซูลินไม่ได้
ทราบได้อย่างไรว่าเป็นโรคเบาหวาน
1.ตรวจรระดับน้ำตาลในเลือด เมื่ออดอาหารอย่างน้อย 8ชั่วโมง ≥126มก./ดล. 2.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือดเมื่อเวลาใดก็ได้ ≥200 มก./ดล. 3.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือดที่2ชั่วโมงหลังการดื่มน้ำตาลกลูโคส ≥200มก./ดล.
ผู้ที่ควรตรวจหาเบาหวาน
-ผู้ที่มีอาการโรคเบาหวานข้างต้น
-อายุมากกว่า40ปี -มีญาติสสายตรงเป็นโรคเบาหวาน
-เคยเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
-คลอดบุตรหนักมากกว่า 4กก.
-มีความดันโลหิตสูง
-มีไขมันในเลือดผิดปกติ
-มีโรคหลอดเลือดตีบแข็ง
-มีโรคที่บ่งว่ามีภาวะดื้อต่ออินซูลิน
ประเภทของโรคเบาหวาน
เบาหวานชนิดที่1
-พบคนนอายุ <30 ปีเกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้ฃ
-มีรูปร่างผม อาจเกิดภาวะหมดสติจากระดับน้ำตาลในเลือดสูง
-การรักษาต้องใช้ยาฉีดอินซูลิน
-
เบาหวานชนิดที่2-พบในคนอายุ >40 ปี
-เกิดจากภาวะดื้อต่อจากอินซูลินและมีการหลั่งอินซูลินลดลงง
-มีรูปร่างอ้วนและมีประวัติโรคเบาหวานในครอบครัว
-สามาถรรักษาได้ด้วยการควบคุมอาหารหรือยาเม็ดลดระดับน้ำตาล
เบาหวานที่มีสาเหตุเฉพาะ
-สาเหตุของกรรมพันธุ์
-โรคของตับอ่อน
-ฮอร์โมนผิดปกติ
-จากยาบางชนิด เช่น ยาสเตรยรอยด์
เบาหวานที่เกิดขณะตั้งครรภ์ -ตรวจพบขณะผู้ป่วยตั้งครรภ์โดยที่ผู้ป่วยไม่ีประวัติโรคเบาหวานมาก่อน -เกิดจากการเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนขณะตั้งครรภ์-การรักษามักต้องใช้อินซูลิน -หลังคลอดเบาหวานมักหายไปและผู้ป่วยีโอกาสเป็นเบาหวานชนิดที่2 เมื่อมีอายุมากขึ้น
การป้องกัน
-ออกกำลังกายอย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน อย่างน้อย 3วันต่อสัปดาห์
-ลดอาหารพวกแป้ง ไขมันและน้ำตา เน้นผัก -ไม่อ้วนไม่เครียด
-งดบุหรี งดแอลกอฮอล
-ติดตามความโลหิตอย่างน้อยปีละ2 ครั้ง
-35 ปีขึ้นไปควรได้รับการคัดกรองเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนเรื้อรัง
-อัมพาต ,สมองเสื่อม
-โรคหัวใจขาดเลือด หัวใจวายตายฉับพลัน
-ต้อกระจก จอประสาทตาเสื่อม
-ไตวาย
-แผลเรื้อรัง ตัดเท้า
การดูแลตนเองในผู้ป่วยเบาหวาน
-ควบคุมอาหาร น้ำหนัก -ออกกำลังกายพอเหมาะและต่อเนื่อง -พักผ่อนให้เพียงพอ -รับประทานยาสม่ำเสมอตรวจเลือดและพบแพทย์ตามนัด -หลีกเลี่ยการดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ -ดูแลรักษาเท้าให้สะอาดอยู่เสมอ -มีแผลหายช้าควรปรึกษาแพทย์ทันที
เป้าหมายควบคุมโรคเบาหวาน
-น้ำตาลก่อนอาหา่ร 90-130 ( มก./ดล.)
-น้ำตาลหลังอาหาร 2 ชั่วโมง<180 (มก./ดล.) -น้ำตาลเฉลี่ยHbA1C(่%) -โคเลสเตอรอล<180 (มก./ดล.) -เอช ดี แอล โคเลสเตอรอล >40(มก./ดล.)
--เอช ดี แอล โคเลสเตอรอล<100 (มก./ดล.)
-ไตรกลีเซอไรด์<150 (มก./ดล.)
-ดัชนีมวลกาย<23 (กก./ตรม.)
-ควาดันโลหิต 130/80(ม,./ปรอท.)
-ออกำลังกาย 150(นาที/สัปดาห์)
การป้องกันการเกิดโรคเบาหวานที่ดีที่สุดคือการคบคุมพฤติิกรรมอย่างเข้มงวด
เป็นเบาหวานจะดูแลตนเองอย่างไร
บันได 5 ขั้นสูการดูแลตนเอง
-ยาเม็ด&ยาฉีด
-วัดผลการควบคุม
-ออกกำลังกาย
-ควบคุมอาหาร
-เรียนรู้เรื่องเบาหวาน
ยาเบาหวาน ( Antidiabetic drugs )
1.ยาที่กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากเบต้าเซลล์ของตับอ่อน (Insulin secretagogues) ยาในกลุ่มนี ยังแบ่งย่อยได้อีก 2 กลุ่ม
1.1 Sulfonylureas ออกฤทธิ์โดยการจับกับ Sulfonylurea receptor ที่เบต้าเซลล์ของตับอ่อน ยาในกลุ่มนี ได้แก่ Chlorpropamide, glibenclamide , glipizidegliclazide, gliquidone และ glimepirid
1.2 Non-sulfonylurea insulin secretagogues ออกฤทธิ์กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากเบต้าเซลล์ของตับอ่อน เช่นเดียวกับ Sulfonylurea แต่ที่ต้าแหน่งต่างกัน ยาในกลุ่มนได้แก่ Repaglinide และ nateglinide
ยาที่ลดภาวะดื อต่ออินซูลิน ( Insulin sensitizer)
2.1 Metformin ออกฤทธิ์โดยการยับยั งการสร้างกลูโคสจากตับเป็นหลัก
2.2 Thiazolidinediones ออกฤทธิ์โดยการกระตุ้น peroxisome proliferator activated receptor gamma
ยาที่ออกฤทธิ์ยับยั งเอนไซม์ alpha-glucosidase ที่ผนังล้าไส้
( alpha-glucosidase inhibitors) ท้าให้การดูดซึมกลูโคสจากทางเดินอาหารเกิดขึ นช้าลง ยาในกลุ่มนี ได้แก่Acarbose และ Voglibose
Dipeptidyl Peptidase (DPP) IV inhibitors เป็นยาที่ยับยั งเอนไซม์ที่ใช้ในการท้าลายฮอร์โมนที่หลั่งจากล้าไส้ คือ glucagon-like peptide -1 ( GLP-1) และglucose-dependent insulinotropic polypeptide (GIP) ยาในกลุ่มนี ได้แก่Sitagliptin และ Vidagliptin
คุณสมบัติของยาเบาหวานแต่ละชนิด
Sulfonylurea1. ยาที่มีผลข้างเคียงที่ท้าให้เกิดน้ำตาลในเลือดต่้าได้บ่อย 2. ยามีประสิทธิภาพในการลดระดับ HbA1c ได้ประมาณ 1.5-2 % 3. ผลข้างเคียงที่พบบ่อยคือ ภาวะน ้าตาลในเลือดต่้า น ้าหนักตัวเพิ่มขึ น
Non-Sulfonylurea Insulin secretagogue
ยานี เหมาะส้าหรับผู้ที่รับประทานอาหารไม่เป็นเวลา
ยาในกลุ่มนี สามารถลดระดับน ้าตาลหลังมื ออาหารได้ดีกว่า Sulfonylurea
ยาในกลุ่มนี ที่จ้าหน่ายในประเทศไทยมีแต่ Repaglinide ยานี ออกฤทธิ์เร็วและระยะเวลาในการออกฤทธิ์สัน
ข้อเสีย คือ ต้องบริหารยาวันละหลายครั ง ยาราคาแพง
Metformin
-ยานี ออกฤทธิ์โดยการกระตุ้น AMP-activated protein kinase ท้าให้การออกฤทธิ์ของอินซูลินดีขึน
-ยานี มีข้อดีคือ ไม่ท้าให้ระดับน ้าตาลในเลือดต่้าโดยเฉพาะใช้เป็นยาเดี่ยว
-ยาลดความผิดปกติอื่นซึ่งเกี่ยวข้องกับภาวะดื อต่ออินซูลิน
-ผลข้างเคียง คลื่นไส้ ท้องเสีย เบื่ออาหาร ลิ นไม่รับรส Lactic acidosis
Alpha-glucosidase inhibitors
-ยาในกลุ่มนี ได้แก่ Acarbose และ Voglibose ยานี ออกฤทธิ์โดยการยับยังเอนไซม์ alpha-glucosidase ที่ผนังล้าไส้
-ผลข้างเคียง ท้องอืด แน่นท้อง ผายลมบ่อย ถ่ายเหลว ปวดท้อง
-ไม่ควรใช้ในผู้ป่วย ที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหาร โดยเฉพาะผู้ที่อาจมีล้าไส้อุดตันหรืออักเสบได้ง่าย
Thiazolidinedionesยาในกลุ่มนี ได้แก่ rosiglitazone และ pioglitazone เป็นยาที่ออกฤทธิ์ลดระดับ
น ้าตาลโดยการลดภาวะดืต่ออินซูลิน
-ผลข้างเคียงน้ำหนักตัวเพิ่มขึนอาการบวม
Dipeptidyl peptidase -4 inhibitors
-ยาในกลุ่มนี ออกฤทธิ์ลดระดับน ้าตาล โดยเพิ่มการออกฤทธิ์ของฮอร์โมนที่หลั่งจากทางเดินอาหารที่ส้าคัญ
-GLP-1 ยังมีผลต่อระบบประสาทส่วนกลางท้าให้รู้สึกอิ่มและลดการบีบตัวของกระเพาะอาหาร
การใช้ยาฉีดอินซูลิน
Human insulin ถูกคิดค้นเพื่อน้ามาใช้ควบคุมระดับน ้าตาลในเลือดในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 และในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 บางราย
ชนิดของอินซูลิน
สามารถแบ่งอินซูลินตามระยะเวลาในการออกฤทธิ์ ได้เป็น 4 ประเภท คือ
Rapid acting insulin
Short acting Insulin
Intermediate-acting insulin
-1. NPH (Neutral protamine Hagedorn หรือ Isophane insulin )
-2. Lente insulin
Long acting insulin
Premixed insulin
รูปแบบของการบริหาร อินซูลิน
ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2
วัตถุประสงค์การใช้อินซูลินประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
Basal insulin
Prandial insulin
Correction dose insulin
การเก็บรักษาอินซูลิน
อินซูลินที่เก็บไว้ใช้นานๆ ควรเก็บในตู้เย็นที่อุณหภูมิ 2 – 8 องศา
เซลเซียส
อินซูลินที่เปิดฝาแล้วส้าหรับใช้ฉีดทุกวัน ถ้าเก็บไว้ที่อุณหภูมิห้อง (30 องศาเซลเซียส) จะอยู่ได้นาน 1 เดือนจะเก็บในตู้เย็นที่อุณหภูมิ 2- 8 องศาเซลเซียสอยู่ได้นาน 3 เดือน
เมื่อต้องเดินทางไกล ไม่จ้าเป็นต้องแช่ขวดอินซูลินในกระติกน ้าแข็ง เพียงระวังไม่ให้ถูกแสงแดด
โรคทางต่อมไทรอยด์
1.กลุ่มที่เกิดจากความผิดปกติของการท้างานของต่อมไทรอยด์ (Thyroid dysfunction) ได้แก่ ภาวะ hyperthyroidism และภาวะ hypothyroidism
โรคก้อนของต่อมไทรอยด์ (Nodular thyroid disease) ได้แก่ solitary thyroid nodules และ multiple nodular goiter
Hyperthyroidism ภาวะไทรอยด์เป็นพิษ
-เกิดจากฮอร์โมนไทรอยด์สูงในกระแสเลือด อาการแสดง ได้แก่ ใจสั่น มือสั่น เหนื่อยง่าย ทานมากแต่น ้าหนักลด ขี หงุดหงิด เหงื่อออกมาก ระบบการเต้นของหัวใจิดปกติ
-ผลการตรวจ ระดับฮอร์โมนไทรอยด์ T3 และ หรือ FT4 สูง และค่า TSH ต่้า โดยจะพบค่า TSH น้อยกว่า 0.1 mIU/L
Antithyroid Drugs
ยาที่ใช้ในการรักษาโรคไทรอยด์เป็นพิษ(Thionamides) ในไทยมี 2 ชนิด ได้แก่ Propylthiouracil (PTU) และ Methimazole (MMI)
-กลไกการออกฤทธิ์ คือ ยับยั งการสร้าง T3 T4
-ส้าหรับยา PTU ยังมีผลการยับยั ง peripheral deiodination ของ T4ไป
เป็น T3 ที่ตับ
-ผลข้างเคียง Agranulocytosis ผลต่อตับ ผลต่อการอักเสบของหลอด
เลือด
ชนิดของยาและการเลือกใช้ยา
Beta adrenergic blockers
ได้แก่ยา Propranolol
Hypothyroidism ภาวะไทรอยด์ฮอร์โมนต่่า
คือภาวะที่ต่อมไทรอยด์ท้างานน้อยท้าให้เกิดการสร้างและหลั่งฮอร์โมนสู่
กระแสเลือดน้อยลง
อาการแสดง ได้แก่ อาการบวม น ้าหนักเพิ่มขึ น เชื่องช้า ท้องผูก ผิวแห้ง ขีหนาว อ่อนเพลีย ไม่มีแรง เสียงแหบ
ยารักษา Hypothyroid
ชื่่อยา Levothyroxin
-ผลข้างเคียง น ้าหนักลด ปวดหัว คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย นอนไม่หลับ
ฮอร์โมนพาราไทรอยด์สูง
(Hyperparathyroidism )
อาการของฮอร์โมนพาราไทรอยด์สูง-คลื่นไส้และอาเจียน-เซื่องซึม-ภาวะขาดน้ำ-อาการสับสน-กล้ามเนื้อกระตุก-ปวดกระดูกและข้อต่อ -หัวใจเต้นผิดปกติ -ความดันโลหิตสูง
สาเหตุของฮอร์โมนพาราไทรอยด์สูง-ต่อมพาราไทรอยด์มีหน้าที่ผลิตฮอร์โมนพาราไทรอยด์ออกมาเพื่อรักษาสมดุลของแคลเซียมในร่างกาย เมื่อมีระดับแคลเซียมในเลือดต่้า ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนพาราไทรอยด์ออกมามากขึ้น
การใช้ยา
ยากลุ่ม Calcimimetics
ยากลุ่ม Bisphosphonate ยากลุ่มนี ออกฤทธิ์ยับยั งการสลายกระดูกมีผลข้างเคียงน้อย ปลอยภัยเมื่อใช้เป็นระยะเวลานาน
ฮอร์โมนทดแทน
วิตามินดีและแคลเซียมเสริม
Calcitonin ยาไปลด bone resorption และลด renal calcium reabsorption
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบสืบพันธ์สตรี
-ยาคุมก่าเนิด
-ยาเลื่อนประจ่าเดือน
-ยาปรับฮอร์โมน
-ฮอร์โมนทดแทน
วิธีการคุมก่าเนิด
ความหมายของยาคุมก่าเนิดหมายถึงยาที่กินเพื่อป้องกันการตั งครรภ์โดยใช้ฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสโตเจน
ที่ได้จากการสังเคราะห์มีฤทธิ์คล้ายกับฮอร์โมนโปรเจสโตโรนตามธรรมชาติ
ยาคุมก่าเนิดชนิดฮอร์โมนรวม
(Combined oral contraception
2.ยาคุมกำเนิดชนิดที่มีแต่โปรเจสโตรเจน
(micro oral contraception)
ยาคุมฉุกเฉิน
หมายถึง การคุมกาเนิดที่ตอ้ งกินยาเมด็ แรกหลงั การมีเพศสัมพันธ์ ผา่นมาแล้ว 72 ชวั่ โมง และเมด็ ที่สองหลังจาก 12
ชั่วโมง
ฮอร์โมนผสม ประกอบด้วยฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสตินผสมกนั (Combined Pill Regimens)
ฮอร์โมนเดี่ยว มีฮอร์โมนโปรเจสตินเพียงอยา่ งเดียว(Progestin Only Pill Regimens)
การออกฤทธ์ิของยาคุมฉุกเฉิน
ยับยั้งไข่ตก
-- เปลี่ยนแปลงสภาพเยอื่ บุโพรงมดลูกใหไ้ ม่เหมาะสมต่อการ
ฝังตัว ของไข