Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ฝนหลวง (Royal Rainmaking) - Coggle Diagram
ฝนหลวง (Royal Rainmaking)
โครงการฝนหลวง
ในหลวง ร.๙ ทรงมีพระราชดำริครั้งเเรก พ.ศ. ๒๔๙๘
ทำฝนหลวงครั้งเเรกที่อุทยานเขาใหญ่ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชศรีมา
โดยการใช้น้่ำเเข็งเเห้ง (Dry-ice)
๒๐ กรกฏาคม ๒๕๑๒ ปฐมฤกษ์ของการทำฝนหลวงของไทย
ความเป็นมา
พ.ศ.๒๔๙๘ ทรงเห็นฝนเเล้ง
พ.ศ. ๒๕๑๒ ทดลงในท้องฟ้าครั่งเเรก
พ.ศ. ๒๕๑๘ ก่อตั้งสำนักงานปฎิบัติการฝนหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๒ ทรงคิด Super Sandwich
พ.ศ. ๒๕๔๕ เฉลิมพระเกียติพระบิดาเเห่งฝนหลวง
การทำฝนหลวง
วิธีการทำในปัจจุบัน
เลี้ยงให้อ้วน
๑.เพิ่มความร้อนโดยใส่เเคลเซียมคลอไรด์เพื่อให้เมฆใหญ่ขึ้น
๒. ยอดเมฆยกตัวถึงความสูง ๑,๕๐๐ Ft
๓. ภายในเมฆเกิดการเคลื่อนตัวของไอน้ำ+การรวมตัวกันของเม็ดน้ำ
โจมตี
มีด้วยกัน ๓ แบบ
โจมตีเเบบเมฆอุ่น (Sandwich)
๑.เติมโซเดียมคลอไรด์ที่ยอดเมฆ เติมยูเรีย+น้ำเเข็งเเห้งที่ฐานเครื่องบินบินระยะทำมุม ๔๕ องศา
๒.ปริมาณเม็ดน้ำหนาเเน่นขึ้นกลุ่มฝ่นเริ่มเคลื่นสู่พื้นที่เป้าหมาย
เติมน้ำเเข็งเเห้งใต้ฐานเมฆ เร่งให้ฝนตก
โจมตีเเบบเมฆเย็น
๑.ปล่อยชิลเวอร์ไอโอไดด์
๒.เกิดเป็นผลิกน้ำเเข็ง
ผลิกน้ำเเข็งร่วงมาเจอเม็นน้ำชั้นเมฆอุ่น ทำให้ฝนตก
โจมตีพร้อมกันทั้งเมฆอุ่นเเละเมฆเย็น (Super Sandwich)
เป็นการโจมตีเเบบอุ่น + การโจมตีเเบบเย็น
ทำให้ฝนตกหนักมาก
ก่อกวน
กระตุ้นให้เกิดเมฆเเนวตั้ง
ในอากาศต้องมีความซื่นสัมพัทธ์ไม่น้อยกว่า 60%
โปรยสาร NaCl ที่ความสูง ๗๐๐ ฟุต
ไอน้ำจะถูกดูดซับเข้าไปเกาะรอบเเกนเกลือเเล้วรวมตัวเกิดเมฆ
การขอรับบริการฝนหลวง
๑) ผู้ขอรับบริการสามารถขอรับบริการฝนหลวงได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย
๒) ผู้ขอรับบริการกรุณาให้ข้อมูลตามความเป็นจริง หากพบว่าข้อมูลเป็นเท็จจะถือว่าเป็นโมฆะ
๓) ผู้ขอรับบริการสามารถขอรับบริการฝนหลวงได้หลายพื้นที่ แต่
อย่างไรก็ตามควรระบุพื้นที่ที่มีความเดือนร้อนมากที่สุดเป็นอันดับแรก
๔) ผู้ขอรับบริการโปรดขอรับบริการฝนหลวงในจังหวัดที่มีเขตการรับผิดชอบเดียวกัน เพื่อความรวดเร็วในการให้ความช่วยเหลือ
สารฝนหลวง
คุณสมบัติ
ดูดซับความร้อนได้ดี
เป็นเเกนกลั่นตัว
บางชนิดสามารถคลายความร้อนออกมาได้ดี
บางชนิดสามารถดูดดึงความร้อนทำให้เมฆเย็นลง
๓ ประเภท
สารฝนหลวงสูตรร้อน
สารเคมีประเภทคลายความร้อน
ปัจจุบันมีการใช้๓ชนิด
แคลเซียมคลอไรด์ (Caicium Choride)
เเคลเซียมคาร์ไบด์ (Calcium Carbide)
แคลเซียมออกไซด์ (Calcium Oxide)
สารฝนหลวงสูตรเย็น
เป็นสารดูดกลื่นความร้อนทำให้อุณหภูมิต่ำลง
ปัจจุบันมีการใช่อยู่ ๓ ชนิด
แอมโมเนียไนเตรด (Ammoniumnitrate)
น้ำแข็งเเห้ง (Dry-ice)
ยูเรีย (Urea)
สารฝนหลวงสูตรเเกนกลั่นตัวของอากาศ
สํารเคมีที่มีคุณสมบัติเป็นแกนดูดซับควํามชื้นให้เข้ํามา
เกาะและกลั่นตัว กลายเป็นเม็ดน้ำจำนวนมําก
ปัจจุบันมีกํารใช้อยู่ 2 ชนิด
เกลือ (Sodium chloride)
สํารเคมีสูตร ท.1
สารประกอบโซเดียมคลอไรด์ที่ผ่านกระบวนการอิเล็กโตรซิส มีลักษณะเป็นผงละเอียด