Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่1 ณ คลินิกเด็กดี - Coggle Diagram
กรณีศึกษาที่1
ณ คลินิกเด็กดี
ทารก เพศชาย อายุ 9 เดือน
ข้อมูลที่ต้องการทราบเพิ่มเติม
ด้านโภชนาการ
ทารกได้รับอาหารหลักวันละกี่มื้อ
มีอาหารเสริมหรือไม่
หากมี มีอะไรบ้าง
การปรุงอาหารให้ทารก
ปริมาณเท่าไหร่ต่อมื้อ
วัตถุดิบมีอะไรบ้าง
ขั้นตอนการเตรียมสะอาดหรือไม่
ทารกได้รับนมผสมสูตรใดบ้าง
นอกจากนมผสมและอาหารเสริมแล้วผู้ดูแลหลักให้ทารกรับประทานอะไรอีกบ้าง
ช่วง6เดือนที่ผ่านมาทารกไดรับนมแม่หรือไม่
ประวัติครอบครัว
อาชีพของครอบครัว
รายได้ครอบครัว
สมรรถภาพของผู้ดูแลหลัก(ยาย)
โรคทางพันธุกรรมในครอบครัว
การเจ็บป่วยของคนในครอบครัว
ความสัมของคนในครอบครัว
พฤติกรรมของมารดาในขณะตั้งครรภ์
พฤติกรรมการนอนหลับ
การดูแลทารกในครรภ์
อายุของมารดาตอนตั้งครรภ์
พฤติกรรมเสี่ยงขณะตั้งครรภ์
ประวัติการได้รับวัคซีนที่ผ่านมาของทารก
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีตของทารก
ประวัติการได้รับหรือใช้ยา
ประวัติการได้รับเลือกหรือมีภาวะโรคเลือดหรือไม่
พัฒนาการด้านอื่นๆของทารก
ทารกมีฟันน้ำนมงอกขึ้นบ้างหรือยัง
กี่ซี่
พฤติกรรมการนอนหลับของทารก
ช่วงเวลาการเข้านอน
อาการขณะนอนหลับ
ปัญหาของกรณีศึกษารายนี้
มีภาวะพร่องโภชนาการ
Anemia deficiency
ปัญหาท้องผูก
พัฒนาการล่าช้า
มีปัญหาด้านการนอนหลับ
สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมต่อการเลี้ยงดูทารก
การเจริญเติบโต และพัฒนาการของทารกรายนี้
การคำนวณอายุจริง
วันที่ทำการทดสอบทารก
2563 7 9
วันเกิดของเด็ก
2562 10 7
อายุครรภ์จริง
40-36=6 wks
1เดือน 14วัน
อายุจริงของทารกรายนี้
7เดือน 18วัน
พัฒนาการอายุ7-9เดือน
Gross Motor
(GM)
นั่งได้มั่นคงและสามารถเอี้ยวตัวใช้มือเล่นได้อย่างอิสระ
❌ไม่ผ่าน
กรณีศึกษาพลิกคว่ำ พลิกหงาย
Fine Motor
(FM)
จ้องมอไปที่หนังสือพร้อมกับผู้ใหญ่ ได้นาน2-3วินาที
❌ไม่ผ่าน
กรณีศึกษาไม่สามารถหยิบจับสิ่งของได้
ใช้มือหยิบจับสิ่งของ
Receptive Language
(RL)
หันตามเสียงเรียก
✅ผ่าน
Expressive Language
(EL)
เลียนเสียงพูดคุย
ปาปา,มามา,จ๊ะจ๋า
❌ไม่ผ่าน
กรณีศึกษาทำเสียงอ้อแอ้
Personal and Social care
(PS)
เด็กเล่นจ๊ะเอ๋ได้
✅ผ่าน
สร้างเสริมภูมิคุ้มกันให้แก่ทารกรายนี้
การบริหารวัคซีน คําแนะนํา และการนัด
รับวัคซีนในครั้งต่อไป
การบริหารวัคซีน/ขนาดที่ใช้
ฉีดใต้ผิวหนัง ครั้งละ0.5ml
ข้อบ่งชี้ในการให้วัคซีน
ฉีดครั้งแรกในเด็ก9-12เดือน
ครั้ง2: 2ปี6เดือน
🚫ห้ามใช้ในหญิงตังครรภ์
เด็กที่ได้รับคอร์ติคอร์สเตียรอยด์ขนาดมากกว่าหรือเท่ากับ 2 mg/kl/day หรือ 20mg/day นานกว่า14วัน
ควรงดให้วัคซีนหลังอายุครบ1เดือน
ผู้ที่ได้รับเลือดหรือผลิตภัณฑ์จากเลือด
ผู้ที่เป็นมะเร็งเม็ดเบือดขาวให้ยาเคมีบำบัด ควรได้รับวัคซีนหลังจากหยุดให้ยาเคมีบำบัดแล้ว3เดือน
ชนิดวัคซีน/การเก็บรักษา
วัคซีนเชื้อเป็น
เป็นวัคซีนผงแห้งต้องทำละลาย
เก็บไว้อุณหภูมิ2-8 C
หลังจากเปิดใช้ ควรใช้ภายใน6ชั่วโมง
การเฝ้าระวัง/ปฏิกิริยาหลังฉีด
มีไข้ ช่วง 4- 12 วัน
ต่อมน้ําเหลืองโต ต่อมน้ําลายอักเสบ ปวดข้อ ข้ออักเสบ
มีผื่นหลังฉีด 7- 10วัน
ชักจากไข้สูง
aseptic meningitis, encephaiilis เกิด 6-15 วันหลังฉีด วัคซีน
เกร็ดเลือดต่ำ 2เดือน หลังฉีดวัคซีน
หากที่ผ่านมาทารกได้รับวัคซีนที่ควรจะได้รับ
วัย9เดือนควรจะได้รับ
วัคซีนMMR1:Measles,Mump,Rubella vaccine
(วัคซีนป้องกันโรคคางทูม หัด หัดเยอรมัน)
วัคซีนครั้งถัดไป
ควรได้รับขณะอายุ12เดือน
วัคซีนLAJE
(วัคซีนไข้สมองอักเสบ)
การได้รับนม และอาหารเสริมของทารกรายนี้
อายุ7เดือน
จำนวน2มื้อ/วัน
กลุ่มข้าว
ข้าวบด 4 ช้อนกินข้าว
กลุ่มผัก
ผักสุก 1ช้อนกินข้าว
ผักหวาน
ตำลึง
ฟักทอง
กลุ่มน้ำมัน
ครึ่งช้อนชา
กลุ่มเนื้อสัตว์
ไข่ต้มสุกครึ่งฟอง
สลับ
เนื้อปลา 1 ช้อนกินข้าว
เนื้อหมู 1 ช้อนกินข้าว
ตับบด 1 ช้อนกินข้าว
เนื้อไก่ 1 ช้อนกินข้าว
กลุ่มผลไม้
ผลไม้สุก1-2ชิ้น
มะละกอสุก
มะม่วงสุก
การได้รับนม
3-4มื้อ/วัน
มื้อละ7-8 ออนซ์
สูตรคำนวณ
น้ำหนัก(kg) * 110(cc)/22
6*110/22
30ออนซ์
คําแนะนําที่พยาบาลต้องให้แก่ผู้ดูแลทารกรายนี้
แนะนำเรื่องการดูแลและทำความสะอาดขวดนม และภาชนะใส่อาหารให้ทารก
ล้างขวดนม ต้มในน้ําเดือด 3-5 นาที
หัวนมยางต้มในน้ําเดือด 1-2 นาที
เก็บขวดนม พร้อมฝาครอบไว้ในที่สะอาด
ควรล้างทําความสะอาดขวดนมภายหลังใช้แล้วทุกครั้งไม่ปล่อยทิ้งไว้จนนมบูด
แนะนำผู้ดูแลในการเลือกนมผสมสำหรับเด็ก9เดือนและการเตรียมนม
นมผสมสูตร2
การผสมนม
ล้างมือให้สะอาดทุกครั้งก่อนผสมนม
ใส่น้ําสุกในขวดที่ต้มแล้วประมาณครึ่งหนึ่งของปริมาณที่จะชง
ตวงนมใส่ขวดตามกําหนด ปิดขวดและเขย่าจนนมละลายหมดเติมน้ําให้ครบ
แนะนำในส่วนของการส่งเสริมพัฒนาการ
การคลานของทารก
แนะนำให้ฝึกโดยการให้ทารกนั่งได้อย่างมั่นคง
ฝึกทารกให้คลานโดยหาของเล่นมาเพิ่มเพื่อกระตุ้นพัฒนาการ
แนะนำการเกาะราวยืน ให้มีของวางริมขอบเตียง ช่วยให้เกาะยืนและคุ้นชินกับการยืน
ฝึกการพูด
การพูดคุยกับเด็ก
การเล่านิทานก่อนนอน
แนะนำผู้ดูแลให้ดูแลเรื่องการพักผ่อนของทารก
ช่วงกลางวัน
3ชั่วโมง
เพื่อให้Growth hormoneทำงานได้เต็มที่
ช่วงกลางคืน
11ชั่วโมง
แนะนำการจัดโภชนาการแก่ผู้ดูแลทารก
เริ่มให้อาหารเสริมทีละอย่างและครั้งละน้อยๆ
เมื่อเด็กทานอาหารได้และไม่มีปัญหาการแพ้อาหาร จึงค่อยๆเพิ่มปริมาณจนได้ตามที่แนะนำ
แนะนำผู้ดูแลให้จัดสิ่งแวดล้อมบริเวณภายในบ้าน และรอบบ้านให้สะอาดและปลอดภัย
เหมาะสมในการเลี้ยงดูทารก