Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การดูแลผู้คลอดเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด (โดยไม่ใช้ยา)…
บทที่ 2 การดูแลผู้คลอดเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด (โดยไม่ใช้ยา) และการ ส่งเสริมสุขภาพในระยะคลอด
วิธีการดูแลเพื่อบรรเทาความปวดในระยะคลอดโดยไม่ใช้ยา
ระยะที่1
ลดตัวกระตุ้นความปวด
1.1 การเคลื่อนไหว
การนั่ง การนั่งเก้าอี้โยก(rocking. )การนั่งเอียงไปมาบนลูกบอล (swaying) การนั่งเก้าอี้ที่กลับหลังและซบหน้าบนพนักพิงเก้าอี้ (sitting backwards on a chair) นั่งยอง การเดิน
1.2 ท่า
1.2.1 ท่าศีรษะและลาตัวสูง(upright position)
ท่าที่ศีรษะและกระดูกสันหลังท ามุม 30-90 องศา ได้แก่ ท่ากึ่งนั่ง (semi sitting position) ท่าร็อกกิ้ง (rocking motion) ท่านั่ง , ท่านั่งยอง, ท่าคุกเข่า ,ท่ายืน
1.2.2 ท่าคุกเข่า(all four or hands and knees position) การที่ผู้คลอดอยู่ในท่าคุกเข่า
อาจช่วยการหมุนของศีรษะให้ท้ายทอยมาอยู่ด้านหน้าช่องเชิงกรานได้ท่านี้ช่วยในรายที่มีการคลอดติดไหล
ท่าพีเอสยูแคท(PSU Cat)
ลักษณะท่า คือ ให้ผู้คลอดหันหน้าไปทางหัวเตียงที่ยกสูง 45-60องศา วางหน้าและอกผุ้คลอดบนหมอน เข่ายันพื้นแยกห่างกันพอประมาณ ให้แนวล าตัวส่วนบนสูงกว่าส่วนล่างเล็กน้อย
ท่าคุกเข่าโน้มตัวไปข้างหน้าโอบแขนและพักบนลูกบอลที่มีความสูงระดับไหล่
จัดให้ผู้คลอดคุกเข่าและโน้มตัวไปด้านหน้า จากนั้นโอบแขนและพักแนวล าตัวบริเวณอกอยู่บนลูกบอลที่มีความสูงระดับไหล่ ดังภาพ 2 ท่านี้ช่วยให้ทารกที่มีท่าท้ายทอยอยู่ด้านหลังช่อง เชิงกรานมารดา ก้มมากขึ้นและเคลื่อนสู่ช่องเข้าของเชิงกรานมารดา
ท่านั่งยอง
เป็นท่าที่ศีรษะและล าตัวอยู่ในแนวดิ่ง (ทำมุมกับพื้นราบ 60-90องศา) โดยนั่งยองๆแล้วแยกขาออกจากกันประมาณช่วงไหล่
การเคลื่อนไหวอย่างอิสระ
การเคลื่อนไหวอย่างอิสระในระยะรอคลอด เช่น การลุกนั่ง การนั่งเก้าอี้โยก การนั่งโยกบนลูกบอล การเดิน การเต้นรำช้า ๆ มีผลช่วยลดเวลาในระยะที่ 1
การกระตุ้นประสาทส่วนปลาย
2.1 การประคบร้อน และเย็น
ประคบความร้อนบริเวณท้องส่วนล่าง ขาหนีบ และฝีเย็บ
ประคบเย็นทำบริเวณหลัง ก้น และฝีเย็บ อุณหภูมิที่ใช้ต้องไม่สูงหรือต่ำมาก
2.2 การสัมผัส การนวด และการกดจุด
การสัมผัสเป็นการกระตุ้นใยประสาทขนาดใหญ่ ท าให้มีการปิดประตูตามทฤษฎีควบคุมประตู และยังช่วยเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีแสดงถึงการดูแลเอาใจใส่ต่อผู้ถูกสัมผัส มีผลต่อทางใจ
2.2.1 การลูบ
(abdominal eff leurage)การลูบหน้าท้อง ใช้ปลายนิ้วมือลูบเป็นวงกลมด้วยจังหวะสม่ำเสมอ ไม่ออกแรงกดกล้ามเนื้อ ตำแหน่งที่ลูบเพื่อบรรเทาความปวดในระยะที่ 1 ของการคลอดคือ บริเวณท้องหรือหน้าขา
2.2.2 การนวด
ให้เน้นบริเวณไหล่ หลัง กระเบนเหน็บ และต้นขา การนวดจะลงน ้าหนักที่กล้ามเนื้อมากกว่าการลูบ ผู้นวดต้องผ่านการอบรม
2.2.3การกดจุด
กดจุดที่ตาแหน่งเอสพี6 (SP6) อยู่เหนือข้อเท้าแอลไอ4 (LI4) หรือจุดเหอกู่ (Hegu) อยู่ระหว่างนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ส่วนแรก และบีแอล 67 (BL67)อยู่บริเวณปลายนิ้วก้อยของนิ้วเท้าต้องได้รับการฝึกถูกต้องตามหลักการแพทย์แผนโบราณของจีน
การส่งเสริมการยับยั้งการส่งกระแสประสาทจากไขสันหลังในระดับสมอง
การใช้ดนตรี
การเพ่งและเบี่ยงเบนความสนใจ(attention-focusing and distraction)
สุคนธบำบัด
การใช้เทคนิคการหายใจ(breathing technique)
วิธีหายใจในระยะปากมดลูกเปิดช้า
ระยะ Cx< 3เซนติเมตร ควรรหายใจแบบช้า (slow-deep chest breathing) คือ เมื่อมดลูกเริ่มหดรัดตัวให้ผู้คลอดหายใจยาวและลึกเพื่อล้างปอด1 ครั้งจากนั้นหายใจเข้าทางจมูกช้าๆ นับ1-4 แล้วผ่อนลมหายใจออกทางปากช้าๆ นับ1-5
การเบ่งคลอด(pushing)
การเบ่งคลอดแบบวัลซัลวา(valsalvapushing) หรือกลั้นหายใจนานมากกว่า 6 วินาทีขณะเบ่งคลอด
การเบ่งคลอดแบบเปิดกล่องเสียง(opened glottis pushing)แต่การเบ่งคลอดแบบเปิดกล่องเสียง คือให้ผู้คลอดออกเสียงเบาๆ หรือมีลมเล็ดลอดขณะเบ่งได้ และใช้เวลาเบ่งแต่ละครั้งนาน 4–8วินาที
วิธีหายใจในระยะปากมดลูกเปิดเร็ว
3.4.2.1หายใจแบบเร็วตื้นและเบา (shallow accelerated decelerated breathing)ใช้ในระยะปากมดลูกเปิด 4-7เซนติเมตร
3.4.2.2หายใจแบบหอบสลับเป่าปาก (shallow breathing with forced blowing out หรือ pant-blow breathing)ส าหรับระยะเปลี่ยนผ่าน (transitional phase)ปากมดลูกเปิด 8-10เซนติเมตร
การส่งเสริมความสุขสบายในระยะคลอด
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
ให้ผู้คลอดบ้วนปากบ่อยๆ
2 อาจเช็ดตัวเปลี่ยนเสื้อผ้าให้หากพบว่าเปื้อน หรือมีสิ่งคัดหลั่งทางช่องคลอดเปรอะเปื้อน ต้องเช็ดท าความสะอาด และใช้ผ้าแห้งรองใต้ก้น
การช่วยให้ผู้คลอดเผชิญกับความปวดและความไม่สุขสบาย
การดูแลผู้คลอดให้เผชิญความปวดโดยไม่ใช้ยานั้น มีหลากหลายวิธี อาจเลือกเพียงหนึ่งวิธีหรือใช้หลายวิธีมาผสมผสานกัน
ควรค านึงถึงปัจจัยที่มีผลต่อความปวดของผู้คลอด ทั้งทางกาย จิตใจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม
การดูแลสิ่งแวดล้อม
จัดให้มีความเป็นส่วนตัวมากเท่าที่จะท าได้ เช่น กั้นม่าน เป็นต้น ปูเตียงด้วยผ้าสะอาด แห้ง ให้เรียบตึง เสื้อผ้าที่สะอาดและแห้ง
มีผ้ารองเลือดหรือน ้าคร ่าใต้ก้นผู้คลอด เปลี่ยนผ้าให้ทุกครั้งที่ผ้าชุ่ม
การจัดการความเจ็บปวดในระยะคลอดโดยการใช้ยา
การจัดการความปวดโดยใช้ยา ให้ยา Pethidine / Fentanyl ตามแนวปฏิบัติในการบริหารยา มักให้ในกรณีที่ผู้คลอดอยู่ในระยะ Activeปากมดลูกเปิด มากกว่า 3 ซ.ม
พยาบาลผู้ดูแลจะรายงานแพทย์เพื่อพิจารณาให้ยาแก้ปวด Pethidine หรือยา Fentanyl ในกรณีที่ผู้คลอดเป็นหอบหืด
แนวทางการจัดการยาPethidine( Meperidine )•
1 สั่งยา Pethidineเป็น mg และวิธีการให้ยาชัดเจน เช่น การ dilute ฉีดช้าๆ doseที่ใช้คือ pethidine 50 mgIV push ช้าๆใช้เวลาอย่างน้อย 3-5 นาที
2 ไม่สั่งผสมยาฉีด Pethidineร่วมกับยาอื่นดูแลให้ยา pethidine 50 mgIV push ช้าๆใช้เวลาอย่างน้อย 3-5 นาที•
สังเกต / ซักถามอาการของผู้คลอดขณะให้ยาตลอดเวลา ถ้ามีอาการหายใจฝืด หายใจล าบากให้หยุดยา และรายงานแพทย์ทันที
เนื่องจากยามีผลในการกดการหายใจทั้งมารดาและทารกใน•ครรภ์จึงควรเตรียมยา Narcan(Naloxone) ให้พร้อมใช้ทันที ในการพิจารณาการให้ยา ควรให้ยาก่อนคลอดอย่างน้อย 1 ชม.
แนวทางการจัดการยาFentanyl
ขนาดยาที่ใช้คือ 1 mcg/kg จัดเตรียมยาโดยเจือจางsterile water for injection
ฤทธิ์ของยาและฤทธิ์ข้างเคียงเช่น ภาวะกดการหายใจ กล้ามเนื้อกระตุก อาการหน้ามืด เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ให้ผู้ป่วยหลับตาขณะ pushยา เพื่อลดอาการเวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
อาการเจ็บครรภ์และทฤษฎีการเริ่มต้นการคลอด
ทฤษฎีการยืดขยายของมดลูก
ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนระหว่างEstrogen progesterone
ทฤษฎีกระตุ้นฮอร์โมน Oxytocin
ทฤษฎีการหลั่งฮอร์โมนProstaglandin
ทฤษฎีควบคุมประตู (Gate control theory)
พลังประสาทของความเจ็บปวด จะถูกปรับสัญญาณในระดับไขสันหลังก่อนส่งขึ้นไปรับรู้ในระดับสมอง
การลดพลังประสาทความเจ็บปวดไปยังสมอง
1.การทางานของใยประสาทขนาดใหญ่และขนาดเล็กในระดับไขสันหลังพลังประสาทจากใยประสาทขนาดใหญ่บริเวณใต้ผิวหนังทาหน้าที่ปิดประตูการลูบนวดที่ผิวหนังจึงลดความเจ็บปวดได
การส่งสัญญาณจากเรติคูลาร์ฟอร์เมชั่นในก้านสมองการปรับสัญญาณที่เข้าและออกในระดับเหมาะสมทาให้ประตูปิดเช่นการเบี่ยงเบนความสนใจอาจยับยั้งความเจ็บปวดได้
3.การส่งสัญญาณจากเปลือกสมองและธาลามัสการปรับกระบวนการสติปัญญาและความรู้สึกหรืออารมณ์ เช่นความเชื่อของบุคคลความวิตกกังวลประสบการณ์ความเจ็บปวดท าให้ลดความเจ็บปวด