Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยหญิงอายุ39ปีDX.Schizophenia with major depressive disorder -…
ผู้ป่วยหญิงอายุ39ปีDX.Schizophenia with major depressive disorder
ปัจจัยภายใน
ด้านชีวภาพ
ความผิดปกติของสารสื่อประสาท
ทฤษฏีทางการเเพทย์
มีความบกพร่องของDopamine ในสมองบริเวณ prefrontal comtex
ทำให้เกิดอาการด้านลบ
พูดน้อย
การเข้าสังคมลดลง
Dopamine dysregulation ที่ striatum เกิดความผิด ปกติของการปล่อยDopamine
ทำให้เกิดอาการด้านบวก
หลงผิด คิดว่ามีคนมาทำร้าย
ประสาทหลอน
ด้านจิตใจ
เหตุการณ์ที่กระทบกระเทือนจิตใจคือโดนเพื่อนแกล้ง ล้อเเละด่าทออยู่เป็นประจำจนไม่สามารถเรียนได้
การใช้กลไกทางจิตเพื่อป้องกันตนเอง
Repression เป็นการเก็บกดความคิด ความรู้สึก อารมณ์ ตลอดจนประสบการณ์เก่าๆ ที่ก่อให้เกิดความไม่สบายใจ กังวลใจ คับข้องใจ ไว้ในจิตไร้สำนึกเป็นเวลานานๆ
การแยกตัว Isolation คือ การแยกตัวให้พ้นจากสถานการณ์ที่นำความคับข้องใจมาให้โดยการแยกตนออกไปอยู่ตามลำพัง เป็นอารมณ์ที่อยากอยู่เงียบๆคนเดียว
บุคลิกภาพ เป็นคนไม่ค่อยพูด ไม่ชอบเข้าสังคม
ปัจจัยภายนอก
สิ่งเเวดล้อม
ได้เเก่ ปัจจัยทั้งหลายที่ทำให้เกิดความเครียด ด้านจิตสังคม เช่นเหตุการที่ทำให้กระทบกระเทือนรุนเเรงในวัยเด็ก
เกิดความไม่สมดุลในการทำงานของสมองส่วนที่เกี่ยวข้อง ระบบต่อมไร้ท่อ โดยเฉพาะ hypothalamus pituitary adrenal axis(HPA)ซึ่งจะทำงานมากกว่าปกติ
ระดับ cartisol สูงขึ้น
เกิดความผิดปกติของวงจร ciradian rhythm ในร่างกาย
ทำให้สารสื่อประสาทชนิด serotonin noradrenalineและDopamineทำงานลดลง
การลดจำนวนและความหนาเเน่นของglial cell และsynaptic connections ในสมองส่วนหน้า
สมองส่วนหน้าprefrontal comtexและ limbic systemทำงานลดลง
1 more item...
ความสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้าง
ครอบครัว
บิดามารดาไม่ค่อยมีเวลาให้ผู้ป่วยทำให้ผู้ป่วยไม่กล้าที่จะปรึกษาและกลัวที่จะปรึกษา
เพื่อน
ถูกกลั่นเเกล้งจากเพื่อนในวัยเด็ก
การรักษา
การรักษาด้วยยา
Fendec (25mg) M g
Chlorpromazine 50mg 1tab oral hs.
Risperidone 1 mg 1 tab oral
การพยาบาล
1.ข้อวินิจฉัยพยาบาลบกพร่องในการสร้างสัมพันธภาพ
1.1สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยเพื่อการบำบัด
1.2.แสดงการยอมรับผู้ป่วย โดยการเรียกชื่อ นามสกุลของผู้ป่วย ได้ถูกต้อง และการทักทาย
1.3.เสนอตัวให้ความช่วยเหลือและชวนสนทนาเกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆ
1.4. ให้ข้อมูลถึงผลดีและประโยชน์ของ การมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
1.5.สอนทักษะการมีสัมพันธภาพกับคน อื่น เช่น การทักทาย การยิ้ม
2.ข้อวินิจฉัยพยาบาลรู้สึกด้อยคุณค่าในตนเอง เนื่องจากต้องพึ่งพาผู้อื่น
2.1. พูดคุยกับผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอ ครั้งละ 30 – 45 นาที
2.2.ประเมินลักษณะทางจิตของผู้ป่วย
2.3. ช่วยให้ผู้ป่วยมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น โดยเริ่มจากกลุ่มย่อยจนถึงกลุ่มใหญ่
2.4ให้ผู้ป่วยพูดหรือแสดงความรู้สึกต่างๆออกมามากที่สุด โดยเล่าให้กลุ่มฟัง
2.5ส่งเสริมการทำกิจกรรมกลุ่มที่ทำแล้วเห็นผลสำเร็จทันที
3ข้อวินิจฉัยพยาบาลมีแบบแผนการนอนแปรปรวนทำให้ร่างกายพักผ่อนไม่เพียงพอ
1จัดสภาพแวดล้อมในห้องนอนผู้ป่วยให้เงียบสงบ มีแสงสว่างพอเหมาะ
3.2. แยกผู้ป่วยที่ส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่นออกจากห้อง
3.3แนะนำญาติสังเกตการนอนหลับของผู้ป่วย
3.4เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึก ความคับข้องใจเพื่อค้นหาสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยนอนไม่หลับ
3.5ดูแลให้ได้รับยาตามแพทย์สั่งเมื่อมีอาการ พร้อมทั้งสังเกตอาการเปลี่ยนแปลง
3.6จัดกิจกรรมให้ผู้ป่วยได้เคลื่อนไหว ออกกำลังกายในช่วงเช้า เพื่อให้ผู้ป่วยได้ผ่อนคลาย
กิจกรรมกลุ่มบำบัด
กิจกรรมอาชีวบำบัด
กิจกรรมสร้างเสริมคุณค่าในตนเอง
กิจกรรมนันทนาการบำบัด
การพยากรณ์โรค
คาดว่าผู้ป่วยจะมีอาการดีขึ้นถ้าผู้ป่วยรับประทานยาต่อเนื่องเป็นประจำตามแผนการรักษา
ประเมินสภาพทางจิตใจ
ความจำในอดีต
ความจำ(memory) ผู้ป่วยสามารถบอกเล่าเรื่องราวของตนเองในอดีตให้ฟังได้ ตอนเด็กเพื่อนชอบเเกล้งโดนเพื่อนล้อเเละด่าอยู่เป็นประจำไม่กล้าบอกครอบครัวจนอายุ14-15ปีเริ่มเรียนต่อไม่ได้จนต้องออกเเละเริ่มมีอาการจนต้องไปรักษา