Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การดำเนินการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางอย่างมีประสิทธิภาพ - Coggle…
บทที่ 6 การดำเนินการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางอย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์
ทราบว่าควรใช้วิธีการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางนี้เมื่อไร
ตระหนักถึงทักษะที่นักศึกษาครูจำเป็นต้องมีเพื่อใช้ในการจัดการชั้นเรียนแบบครูเป็นศูนย์กลาง
ทราบวิธีการวางแผนและดำเนินการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางในห้องเรียนได้
การสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางคืออะไร
การให้ครูเป็นผู้ควบคุมการเรียนการสอนโดยตรงในขณะที่การสอนแบบให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางคือ การปล่อยให้ผู้เรียนค้นคว้าหาความรู้และแก้ปัญหาด้วยตนเอง
การดำเนินการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลาง
กลยุทธ์ในการสอนประกอบด้วย 3 ขั้นตอน
ก่อนการสอน
กำหนดวัตถุประสงค์ในการเรียนการสอนซึ่งเป็นสิ่งที่ครูต้องการให้ผู้เรียนได้จากการเรียน
พิจารณาถึงความรู้และทักษะที่ผู้เรียนมีอยู่ก่อนซึ่งสอดคล้องกับหัวข้อที่จะเรียน
เลือกและทบทวนเนื้อหาให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการเรียน
เลือกรูปแบบในการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนโดยเชื่อมโยงความรู้ที่ผู้เรียนมีอยู่เดิมเข้ากับความรู้ใหม่ที่ผู้เรียนจะได้รับ
จัดระเบียบข้อมูลให้สอดคล้องกับแผนการสอน
ระหว่างการสอน
อธิบายวัตถุประสงค์ของบทเรียน
จัดระเบียบข้อมูล
นำเสนอข้อมูลใหม่
สรุปประเด็นสำคคัญ
การนำเสนอ
การถ่ายทอดข้อมูลจากผู้ที่มีความรู้มากกว่าไปสู่ผู้ที่มีความรู้น้อยกว่าเพื่อให้ผู้ฟังเกิดความเข้าใจในข้อเท็จจริง แนวคิดและคำอธิบาย การนำเสนอนี้ครอบคลุมถึงทุกขั้นตอนของกลยุทธ์ในการสอน
สิ่งสำคัญคือครู้ต้องเริ่มการสอนโดยทำให้ผู้เรียนเกิดความพร้อมแลพเกิดแรงจูงใจที่จะเรียน วึ่งครุอาจใช้วิธีบอกเล่าถึงวัตถุประสงค์และสิ่งที่คาดหวังว่าผู้เรียนจะได้รับหลังจากจบบทเรียนแล้ว ผู้เรียนจะต้องทำอะไรบ้าง ครูอาจเขียนวัตถุประสงค์แลความคาดหวังในการเรียนการสอนลงบนกระดานหรือแผนภูมิเพื่ออธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจในแต่ละขั้นตอน
ขั้นตอนคือการนำเสนอข้อมูลหรือสื่อการเรียนใหม่ๆที่ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจการนำเสนอของครูได้ง่ายขึ้น แจกเอกสารช่วยดึงความสนใจของผู้เรียนสู้ประเด็นที่สำคัญได้
ความชัดเจนของการนำเสนอซึ่งสามารถสร้างขึ้นได้โดยการวางแผนอย่างรอบคอบ จัดระบบและฝึกปฏิบัติให้มาก
เรียบเรียงข้อมูลให้เป็นระเบียบตามขั้นตอนจากข้อมูลทั่วไปไปสู่ข้อมูลจำเพาะ
อธิบายให้เห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างแนวคิดเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจถึงสาเหตุและผลลัพธ์พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบเพื่อให้เกิดความเข้าใจได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
ใช้คำเชื่อมเพื่อให้ผู้เรียนจับใจความหลักได้ทันและเพื่อเน้นให้ผู้เรียนเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิด
การใช้สื่อการสอนครูจะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์การเรียนการสอนการนำเสนอบทเรียนมักจบด้วยสรุปประเด็นสำคัญที่ได้นำเสนอไปเพื่อทบทวนให้ผู้เรียนจดจำแนวคิดที่เรียนไปได้
ภายหลังการสอน
การนำเสนอภายหลังการสอนเป็นการตรวจสอบว่าผู้เรียนเข้าใจในความรู้ใหม่ที่ได้เรียนไปหรือไม่ ครูอาจตั้งคำถามภายในชั้นเรียน สั่งการบ้าน ทดสอบและใช้วิธีการอื่น ๆ ได้ครูต้องมีอารมณ์ขันเข้าไปสอดแทรกการสอนด้วย
การสอนโดยตรง
ก่อนการสอน
กำหนดวัตถุประสงค์ในการเรียนให้สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้เรียน
วิเคราะห์เนื้อหาในแ่ละส่วนเพื่อให้ครูดำเนินการสอนได้อย่างเป็นระบบ
ระหว่างการสอน
นำเสนอวัตถุประสงค์ของบทเรียน
ให้ข้อมูลหรือทักษะอย่างถูกวิธี
ให้คำแนะนำในการปฏิบัติ
ตรวจสอบความเข้าใจและให้ความเห็น
ครูต้องอธิบายให้ผู้เรียนรับทราบถึงวัตถุประสงค์ของบทเรียนทบทวนความรู้ที่ผู้เรียนมีอยู่แตเดิมและแสดงให้ผู้เรียนทราบถึงสิ่งที่พวกเขาได้จากการเรียน
ภายหลังการสอน
ภายหลังการสอนครูอาจเปิดโอกาศให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติเป็นรายบุคคลโดยฝึกภายในห้องเรียนหรือให้ไปทำเป็นการบ้าน จากนั้นครูอาจใช้วิธีทดสอบเพื่อประเมินความรู้หรือทักษะของผู้เรียนได้
การสอนแนวคิด
การสอนแนวความคิดหลักที่เป็นรากฐานในการส่งเสริมทักษะการคิดของผู้เรียนซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถทำความเข้าใจกับแนวคิดได้ดีขึ้น เช่นวิธี การนำเสนอโดยตรงและการเรียนรู้แนวคิดได้ด้วยตนเอง
การนำเสนอโดยตรง คือ การสอนโดยที่ผู้เรียนไม่มีความรู้เกี่ยวกับแนวคิดที่สอนมาก่อนซึ่งครูจะเป็นผู้ให้ความรู้แก่ผู้เรียนและช่วยให้ผู้เรียนสามารถทำความเข้าใจกับแนวคิดนั้นได้
การเรียนรู้เเนวคิดได้ด้วยตนเอง คือ การสันนิษฐานว่าผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับแนวคิดที่จะสอนนี้อยุ้บ้างแล้ว ครูจึงไม่ต้องบอกผู้เรียนว่าแนวคิดที่จะสอนคืออะไร ครูจะเป็นผู้เเเสดงและไม่แสดงแต่ยกตัวอย่งประกอบเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจแนวคิดได้อย่างมีเหตุมีผล
ก่อนการสอน
เลือกแนวคิดที่จะสอนจากอผนการเรียนหรือประมวลรายวิชา
วิเคราะเเนวคิด
ระบุแนวคิด
เลือกการใช้หรือไม่ใช้ตัวอย่างประกอบ
จัดรูปแบบการใช้และไม่ใช้ตัวอย่างประกอบจากง่ายไปหายาก
ตัดสินว่าจะใช้การสอนแนวคิดรูปแบบใด
ระหว่างการสอน
นำเสนอวัตถุประสงค์ของบทเรียน
ระบุแนวคิดพร้อมยกตัวอย่างหรือไม่ยกตัวอย่างประกอบ
ทดสอบเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจแนวคิด
วิเคราะห์ความคิดและการเรียนรู้ของผู้เรียน
การสอนแนวคิดจะเริ่มต้นโดยการที่ครูเป็นผุ้นำเสนอวัตถุประสงค์ของบทเรียนให้แก่ผู้เรียน เพื่ออธิบายให้ผู้เรียนทราบว่าการเรียนการสอนจะดำเนินอย่างไรเหตุใดการเรียนรู้แนวคิดจึงมีความสำคัญ
ขั้นตอนสุดท้ายของการสอนแนวคิดคือ การทำให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์กระบวนการคิดและสามารถบูรณาการความรู้ใหม่เข้ากับความรู้ที่มีอยู่แต่เดิมได้ ครูใช้วิธีตั้งคำถามเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนนึกถึงแนวคิดที่เรียนได้
การจัดการสภาพแวดล้อมในการเรียนสำหรับการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลาง
เมื่อครูใช้วิธีการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลาง ครูจจะต้องรับมือกับชั้นเรียนถือเป็นผุ้เรียนกลุ่มใหญ่ครูจึงมีทักษะที่จำเป็นต่อการจัดการผู้เรียน
ความสามารถของครูที่สามารถรับรู้ได้ตลอดเวลาว่าเกิดอะไรขึ้นภายในชั้นเรียนบ้างเสมือนว่าครูมีตาหลัง ผู้เรียนก็จะไม่กล้าเล่นในห้องเรียน
ความสามารถของครูในการมีส่วนร่วมในเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายในเวลาเดียวกัน
การจัดการเรียนการสอนให้ดำเนินไปอย่างราบรื่นตลอดชั่วโมงเรียน
การดึงความสนใจของผู้เรียนให้จดจ่ออยู่กับบทเรียนได้ตลอดชั่วโมงโดยการจัดที่นั่งของผู้เรียนให้เป็นกลุ่มเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชั้นเรียน ตั้งคำถามให้ผู้เรียนตอบเพื่อสังเกตความตั้งใจของผู้เรียน
การขจัดความเบื่อหน่ายของผู้เรียน เมื่อผู้เรียนมีความสนใจในบทเรียนน้อยลง พวกเขาก็จะมีส่วนร่วมกับการเรียนน้อยลงครูจึงจัดกิจกรรมที่ทำให้ผู้เรียนรู้สึกท่าทายและอยากจะทำให้สำเร็จเพื่อขจัดความเบื่อหน่าย
การตั้งกฎเพื่อควบคุมความประพฤติของผู้เรียน การพูดคุยและการเคลื่อนไหวระหว่างที่ครูกำลังสอนอยู่
การกำหนดกระบวนการเพื่อสร้างกิจกรรมของผู้เรียนซึ่งจะช่วยส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ของผู้เรียน
การจดจ่อกับการเรียนในขณะที่ครูกำลังสอนอยู่
การควบคุมการเรียนการสอนให้ดำเนินไปอย่างราบรื่นตลอดชั่วโมงเรียน
บทสรุป
วัตถุประสงค์ของบทนี้ คือ เพื่ออธิบายลักษณะการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางและทักษะในการจัดการห้องเรียนสำหรับดำเนินการสอนในลักษณะนี้ วิธีสอนแต่ละรูปแบบล้วนมีทั้งข้อดีและข้อเสีย ดังนั้นครูควรเลือก โดยคำนึงถึงสิ่งที่ครูต้องการให้เป็นภายหลังจากจบบทเรียนตามประเภทของผู้เรียนและลักษณะของเนื่อหาวิชาที่จะสอน
อย่างไรก็ตามครูควรใช้แนวการสอนแบบผสมผสานระหว่างการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางและการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเมื่อครูคุ้นเคยกับรูปแบบการสอนแต่ละแบบแล้ว ครูก็สามารถผสมผสานการสอนแต่ละแบบเข้าด้วยกันปรับแก้เพื่อให้เหมาะสมกับความต้องการของครูได้