Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
image, น.ส.ประภัสสร สำเภาทอง เลขที่ 45 ชั้นปีที่ 2 รุ่น 37
รหัสนักศึกษา…
-
-
เตรียมยาสมุนไพร
ยาชง
การเตรียม
ปกติใช้สมุนไพรแห้งชง โดยหั่นต้นสมุนไพรสดให้เป็นชิ้นเล็กๆ บางๆ แล้วผึ่งแดดให้แห้ง ถ้าต้องการให้ไม่มีกลิ่นเหม็นเขียว ให้เอาไปคั่ว เสียก่อนจนมีกลิ่นหอม
-
-
ยาต้ม
การต้ม
เทน้ำลงไปพอให้น้ำท่วมยาเล็กน้อย (ประมาณ ๓-๔ แก้ว) ถ้าปริมาณยาที่ระบุไว้น้อยมาก เช่น ใช้เพียง ๑ หยิบมือ ให้เทน้ำลงไป ๑ แก้ว (ประมาณ ๒๕๐ มิลลิลิตร) ต้มให้เดือดนาน ๑๐-๓๐ นาที แล้วแต่ว่าต้องการให้น้ำยาเข้มข้น หรือเจือจาง ยาต้มนี้ต้องกินในขณะที่ยายังอุ่นๆ
-
การเตรียม
ปริมาณที่ใช้โดยทั่วไป คือ ๑ กำมือ เอาสมุนไพรมาขดมัดรวมกันเป็นท่อนกลม ยาวขนาด ๑ ฝ่ามือ กว้างขนาดใช้มือกำได้โดยรอบพอดี
ถ้าสมุนไพรนั้นแข็ง นำมาขดมัดไม่ได้ ให้หั่นเป็นท่อนยาว ๕-๖ นิ้วฟุต กว้าง ๑/๒ นิ้ว ฟุต แล้วเอามารวมกันให้ได้ขนาด ๑ กำมือ
-
ทำยาปั้นลูกกลอน
-
การปั้นยา
ใช้ผงยาสมุนไพร ๒ ส่วน ผสมกับน้ำผึ้ง หรือน้ำเชื่อม ๑ ส่วน ตั้งทิ้งไว้ ๒-๓ ชั่วโมง เพื่อให้ยาปั้นได้ง่าย ไม่ติดมือ
-
-
-
การแปรรูปพืชสมุนไพร
-
-
-
การให้มีขนาดเล็กลง
เป็นการนำเอาสมุนไพรมาทำให้ขนาดเล็กลง และนำไปตากแห้ง เพื่อให้ปริมาณน้ำของ สมุนไพรลดลง นิยมใช้กับ ราก เปลือก ลำต้น
-
อายุของยาสมุนไพร
- ยาปั้นเป็นลูกกลอน เป็นเม็ด เป็นแท่ง
-
-
อายุของยาเม็ดนี้ ขึ้นอยู่กับการรักษา ถ้าเก็บรักษาดี ไม่ถูกความร้อนความชื้อก็สามารถเก็บไว้ได้นาน แต่ถ้ารักษาไม่ดีก็เสื่อมคุณภาพเร็วกว่าที่กำหนด
-
-
- ยาดองที่เข้าเกลือ หรือ ดีเกลือ
-
-
-