Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลไกการออกฤทธิ์ของยา ยาปฏิชีวนะกลุ่มต่างๆ - Coggle Diagram
กลไกการออกฤทธิ์ของยา
ยาปฏิชีวนะกลุ่มต่างๆ
ยาต้านเชื้อรา (Antifungal Agent)
เชิ้อรา (Fungi) เป็นจุลชีพชนิด Eukaryote ที่ไม่สร้างคลอโรฟิล จึงต้องอาศัยสิ่งมีชีวิตอื่นหรือมีแหล่งอาหารในการดำรงชีพ
ยารักษาเชื้อรา มี 2 ชนิด
1.ชนิดที่ใช้ภายนอก (topical)
2.ชนิดสาหรับใช้รับประทาน (Systemic)
Topical Antifungal Agents ใช้ภายนอก
1.Whitfield’s Ointment
ทำให้เชื้อราที่อาศัยอยู่ใน keratin ถูกกำจัดออกไปด้วย
2. Undecylenic Acid
ฤทธิ์เป็นfungistatic
3. Imidazole Derivatives
เป็นยากลุ่มใหญ่ที่มีขอบข่ายออกฤทธิ์กว้าง ใช้ได้ ก้บเชื้อราแทบทุกชนิด
4.Polyenes Derivative
ได้ผลดีมากต่อการติดเชิ้อ Candida
5. Tolnaftate
ฆ่าเชิ้อราบนผิวหนังพวก Dermatophytesและ Tinea Versicolorได้ดี
6. Haloprogin
ยาจะถูกดูดซึมได้น้อย ดังนั้นจะมีผลข้างเคียง
7. Ciclopiroxolamine
ใช้รักษา Superficial Infection
8. Sodium Thiosulphate
ใชร้ักษาเกลือนด้วยความเข้มข้น20%
9.Selenium Sulphide
ใช้สระผมรักษารังแคที่ศีรษะ และใช้รักษาโรคเกลื้อนได้
Systemic Antifungal Agents ชนิดสำหรับรับประทาน
1. Amphotericin B
ใช้ทาสำหรับ Candidiasis ที่ผิวหนังเล็บ
•ถูกดูดซึม จากทางเดินอาหารกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะไม่ดี
จึงต้องให้โดยวิธีฉีดเข้าเส้นเลือดดำ
2. Griseofulvin
ฆ่า Dermatophytes เท่านั้น ขอบเขตยาแคบมาก
3. Ketoconazole
ออกฤทธิ์กว้างต่อเชื้อรา การรับประทานใช้ได้ ผลในการรักษา Yeast, Dermatophytesและการติดเชื้อ Candida
4.Itraconazole
เป็นยาในกลุ่ม Azole ที่มีฤทธิ์แรงที่สุด
5.Fluconazole
ใชในการรักษา Cryptococcal Meningitis, Candidemiaในผู้ป่วย ICU
6. Voriconazole
• ทั้งแบบยาฉีดและยากิน
ยาต้านไวรัส (ANTIVIRAL DRUGS)
Antiviral Drugs คุณสมบัติของยาต้านไวรัสที่ดี คือ ออกฤทธิ์เฉพาะเจาะจงต่อ Target Virus หรือ Viral Specific Product
1.Antiherpes And Anti-cytomegalovirus Agents
ยาต้านเชื้อเริม และ CMV เช่น
Acyclovir
• เป็นยารักษาโรคติดเชื้อ(Herpes Simplex Virus), อีสุกอีใส, งูสวัด (Varicella Zoster),
Ganciclovir
• Ganciclovir ใช้รักษา Cytomeg Alovirus Infection ผู้ป่วยโรคเอดส์
ทุกรูปแบบของยา Ganciclovir ถูกห้ามใช ้ในกรณีต่อไปนี้
อายุต่ำกว่า 12 ปี ระยะเวลาของการตั้งครรภ์และให้นมบุตร
2. Antiretroviral Agents
ยาต้าน HIV (Human Immunodeficiency Virus) ที่ใชในปัจจุบัน 2 กลุ่ม ใหญ่ คือ
1.Reverse Transciptase Inhibitor (RTIS) ยับยั้งเอนไซม Reverse Transcriptase เป็นเอนไซม์ของ Retro Virus ที่ใชในการเปลี่ยนแปลง RNA ใหเป็น DNA
Protease Inhibitor (PIS)
ยับยั้งเอนไซม์ Viral Protease ที่ใชในการตัดPolyprotein ของไวรัส ทำให้ไวรัสไม่สามารถแบ่งตัวได้
3. Anti-influenza Agents
ออกฤทธิ์ยับยั้ง Uncoating ของ Viral RNA ใน Influenza A Virus ยับยั้งการ แบ่งตัวของไวรัส
Nucleoside Reverse Transcriptase Inhibitors (NRTIS)
ช่วยลดการติดเชื้อเอดส์จากแม่สู่ลูก
Didanosine (DDI) รักษาผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีการติดเชื้อ HIV อย่างรุนแรง
Lamivudine (3TC)
ใช้ในผู้ป่วยที่ติดเชื้อ HIV โดยใชร่วมกับ Zidovudine (AZT)
หลักการใช ้ยาต้านไวรัสเอดส์
๏ การใช้ยาจะไม่ให้ยาเดี่ยวๆเนื่องจากมีการดื้อยาได้ง่าย ต้องใช้ยาอย่างน้อย 3 ชนิด
ยารักษาวัณโรค (Antituberculosis Drugs)
หลักการใช้ยารักษาวัณโรค
• ต้องใช้ เวลาหลายเดือนหรือเป็นปีเพราะเชื้อแบ่งตัวช้า
ในปัจจุบันมีการแบ่งกลุ่มยาเป็น 2 กลุ่มคือ
First-line Drug (ยาอันดับแรก )
Second-line Drug (ยาอันดับสอง )
1. First-line Drug
Isoniazid (INH, H)
• เป็นยาที่ใชร้กษาวัณโรคมานานเกือบ 40 ปีมีราคาถูก
กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งการสังเคราะห์ผนังเซลล์ของเชื้อ
Rifampicin (R,RMP)
•กลไกการ:ขัดขวางการสร้าง RNA ของเชื้อและรบกวนการทำงานของเอนไซม์ • มีฤทธ์ิฆ่าเชื้อวัณโรครองลงมาจาก Isoniazid
Pyrazinamide (PZA, Z)
ใช้ในการกำจัดเชื้อโ รคที่หลบซ่อนอยู่ในเซลล์ Macrophage
Ethambutol (EMB,E)
เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการดื้อยาของเชื้อ
2. Second-line Drug Para-aminosalisylic Acid (PAS)
กลไกการออกฤทธิ์ เหมือนกับยาในกลุ่ม Sulfonamides ยับยั้ง
การสร้าง กรดโฟลิกของเชื้อ
Ethionamide (ETO, ETA)
ใช้รักษาวัณโรคในกรณีที่เชื้อดื้อต่อยา
Cycloserine (CS)
้ยานี้ใช้เพื่อรักษาโรควัณโรคที่มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ
ยาฆ่าเชื้อและยาทำให้ปราศจากเชื้อ( ANTISEPTIC AND DISINFECTANTS )
Antiseptic and Disinfectants
Antiseptics
สารเคมีที่ทําลายหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลชีพที่ทําให้เกิดโรค ใช้กับผิวหนังหรือเยื่อเมือกของสิ่งมีชีวิตและใช้ภายนอกร่างกาย
Disinfectants
: สารเคมีที่ใช้ฆ่าหรือทําลายจุลชีพที่ทําให้เกิดโรค ใช้กับสิ่งไม่มีชีวต
Glutaraldehyde
-Sterility ใช้เวลา 3-10 ชั่วโมง
-Intermediate ใช้เวลา 10 นาที
-2% Glutaraldehyde Solution (1,000) + Activator (20)
Ethyl Alcohol
• ฆ่าเชื้อได้เร็ว จึงนิยมใช้เช็ดผิวหนังก่อนฉีดยา ระเหยง่าย แทรกซึมไม่ได้
Lysol ( 50% Cresol )
ฤทธิ์ฆ่าเชื้อระดับ Intermediate ระคายเคืองและล้างออกยาก ใช้น้ำปะปาผสมได้
Chlorine-releasing Compound
• ฆ่าเชื้ออยู่ในระดับ Intermediate กัดกร่อนโลหะและเป็นสารฟอกสี
Iodine Compound
•ไม่ค่อยนิยมใช้เพราะราคาแพง ระคายเคืองสูง มีประสิทธิภาพสูง
Chlorhexidine
ฆ่าเชื้ออยู่ในระดับ LOW LEVEL
•ฆ่าสปอร์และTB, HBV, HIV ไม่ดี
•นิยมใช้ Scrub มือก่อนผ่าตัดฤทธิ์ถูกยับยั้งโดยสิ่งสกปรกและนํ้ากระด้าง