Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การดูแลผู้คลอดเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด, นางสาวภัณฑิรา…
บทที่ 2 การดูแลผู้คลอดเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด
การดูแลบรรเทาความปวดโดยไม่ใช้ยา
การลดตัวกระตุ้นความปวด
การเคลื่อนไหว
การเต้นรำช้า ๆ
การนั่ง นั่งยอง
การนั่งเก้าอี้ที่กลับหลังและซบหน้าบนพนักพิงเก้าอี้ (sitting backwards on a chair)
การนั่งเอียงไปมาบนลูกบอล (swaying)
การนั่งเก้าอี้โยก (rocking)
การเดิน
ท่า
ท่าคุกเข่า (all four or hands and knees position)
ลดอาการปวดหลังกรณีที่ทารกมีท้ายทอยอยู่ด้านหลังช่องเชิงกรานมารดา
ช่วยในรายที่มีการคลอดติดไหล่
ท่าพีเอสยูแคท
ผู้คลอดหันหน้าไปทางหัวเตียงที่ยกสูง 45-60 องศา วางหน้าและอกผุ้คลอดบนหมอน เข่ายันพื้นแยกห่างกันพอประมาณ ให้แนวลำตัวส่วนบนสูงกว่าส่วนล่างเล็กน้อย
ท่าคุกเข่าโน้มตัวไปข้างหน้าโอบแขนและพักบนลูกบอลที่มีความสูงระดับไหล
ผู้คลอดคุกเข่าและโน้มตัวไปด้านหน้า โอบแขนและพักแนวลำตัวบริเวณอกอยู่บนลูกบอลที่มีความสูงระดับไหล
ท่าศีรษะและลำตัวสูง (upright position)
ท่านั่งยอง
ศีรษะและลำตัวอยู่ในแนวดิ่ง นั่งยองๆแล้วแยกขาออกจากกันประมาณช่วงไหล ก้นลอยเหนือพื้น ทิ้งน้ำหนักตัวบนฝ่าเท้าทั้ง 2 ข้าง
การเคลื่อนไหวอย่างอิสระ
การลุกนั่ง การนั่งเก้าอี้โยก การนั่งโยกบนลูกบอล การเดิน การเต้นรำช้า ๆ
การกระตุ้นประสาทส่วนปลาย
การสัมผัส การนวด และการกดจุด
แช่ในน้ำธรรมดาหรือน้ำอุ่น
ทำให้สารเอนดอร์ฟินหลั่งเพิ่มขึ้น
ความปวดลดลง และการไหลเวียนเลือดดีขึ้น
การบำบัดโดยใช้น้ำหรือวารีบำบัด
การลูบ
ใช้ปลายนิ้วมือลูบเป็นวงกลมด้วยจังหวะสม่ำเสมอไม่ออกแรงกดกล้ามเนื้อ
การนวด
เน้นบริเวณไหล่ หลัง กระเบนเหน็บ และต้นขา
การกดจุด
กดจุดที่ตำแหน่งSP6 ซึ่งอยู่เหนือข้อเท้า LI4 หรือจุดเหอกู่ (Hegu) ซึ่งอยู่ระหว่างนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ส่วนแรก และ BL67 อยู่บริเวณปลายนิ้วก้อยของนิ้วเท้า
การประคบร้อน และเย็น
ประคบร้อนบริเวณท้องส่วนล่าง ขาหนีบ และฝีเย็บ
ประคบเย็นบริเวณหลัง ก้น และฝีเย็บ
อุณหภูมิที่ใช้ต้องไม่สูงหรือต่ำมาก
ใช้เวลาประคบ 10 นาที
การส่งเสริมการยับยั้งการส่งกระแสประสาทจากไขสันหลังในระดับสมอง
การเพ่งและเบี่ยงเบนความสนใจ
เพ่งดูที่จุดหนึ่งจุดใดอย่างแน่วแน่ขณะมดลูกหดรัดตัวเพื่อให้เกิดสมาธิ
ระยะปากมดลูกเปิด 4-8 ซม. แนะน าให้ตั้งใจจดจ่ออยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง นับลมหายใจเข้าออกขณะมดลูกหดรัดตัว
ระยะปากมดลูกเปิด 8-10 ซม. แนะน าให้หายใจลึกๆ เพ่งตามองที่จุดหนึ่งจุดใดอย่างแน่วแน่ ขณะมดลูกหดรัดตัว
ระยะปากมดลูกเปิด 1-4 ซม. แนะนำให้เดิน พูดคุย หรืออ่านหนังสือ
สุคนธบำบัด
กลิ่นจะถูกส่งผ่านทางเส้นประสาทรับกลิ่น
สารในน้ำมันหอมระเหย มีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการรับรู้ต่อความปวด
การใช้เทคนิคการหายใจ
วิธีหายใจในระยะปากมดลูกเปิดช้า
เมื่อมดลูกเริ่มหดรัดตัวให้ผู้คลอดหายใจยาวและลึกเพื่อล้างปอด 1 ครั้ง
จากนั้นหายใจเข้าทางจมูกช้าๆ นับ 1-4 แล้วผ่อนลมหายใจออกทางปากช้าๆ นับ 1-5
วิธีหายใจในระยะปากมดลูกเปิดเร็ว
หายใจแบบเร็วตื้นและเบา
หายใจยาวและลึกเพื่อล้างปอด 1 ครั้ง จากนั้นให้หายช้าๆ จนกระทั่งมดลูกหดรัดมากขึ้น หายใจเข้าและออกผ่านทั้งทางปากและจมูกตื้น เร็ว และเบา
หายใจแบบหอบสลับเป่าปาก
หายใจยาวและลึกเพื่อล้างปอด 1 ครั้ง จากนั้นหายใจเข้าและออกทางปากตื้นๆ เร็วๆ เบาๆติดต่อกัน 3 ครั้ง แล้วเป่าลมออก 1 ครั้ง
การเบ่งคลอด (pushing)
การเบ่งคลอดแบบวัลซัลวา
ผู้คลอดเบ่งหลายๆ ครั้งขณะมดลูกหดรัดตัวแต่ละครั้ง หรือกลั้นหายใจนานมากกว่า 6 วินาทีขณะเบ่งคลอด
การเบ่งคลอดแบบเปิดกล่องเสียง
ห้ผู้คลอดออกเสียงเบาๆ หรือมีลมเล็ดลอดขณะ
เบ่งได้ และใช้เวลาเบ่งแต่ละครั้งนาน 4–8 วินาที
การใช้ดนตรี
โดยการรับเสียงที่เซลล์ขนของหู จะเปลี่ยนการสั่นสะเทือนของเสียงเป็นกระแสประสาทส่งไปสมอง และเซลล์ขนที่ผนังของเยื่อหุ้มเซลล์ซึ่งอยู่ติดกับน้ำเหลืองของหูชั้นใน
เพื่อการผ่อนคลายควรมีระดับเสียง 45-50 เดซิเบล
ดนตรีบรรเลงช่วยให้ผู้ฟังผ่อนคลายมากกว่าเพลงที่มีเนื้อร้องเสียงดนตรี
การดูแลบรรเทาความปวดโดยใช้ยา
แนวทางการจัดการยา Pethidine ( Meperidine )
ไม่ให้ในกรณีมีประวัติโรคหืดหอบ หรือ โรคปอด
ไม่สั่งผสมยาฉีด Pethidine ร่วมกับยาอื่น
ติดตามประสิทธิผลของการให้ยา อาการข้างเคียง
อาการหน้ามืดใจสั่น เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
ประเมินสัญญาณชีพหลังให้ยา 10-15 นาที
RR<12 ครั้ง/นาที PR<60ครั้ง/นาทีหรือ 120ครั้ง/นาที
BP < 90 / 60 mm/Hg ให้รายงานแพทย์
เฝ้าระวังป้องกัน การตกเตียง นำไม้กั้นเตียงขึ้นและดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
ยามีผลในการกดการหายใจทั้งมารดาและทารกในครรภ์จึงควรเตรียมยา Narcan (Naloxone) ให้พร้อมใช้ทันที
แนวทางการจัดการยา Fentanyl
ห้ามให้ผู้ป่วยที่แพ้ มอร์ฟิน หรือสารที่ออกฤทธิ์เหมือนมอร์ฟิน
ไม่สั่งผสมยาฉีด Fentanyl ร่วมกับยาอื่น
ให้ผู้ป่วยหลับตาขณะ push ยา
เพื่อลดอาการเวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
ให้ยาแบบ IV push ช้า ๆ ใช้เวลาอย่างน้อย 3-5 นาที
ติดตามประสิทธิผลของการให้ยา อาการข้างเคียง
ภาวะกดการหายใจ หายใจช้า หน้ามืด เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
ประเมินสัญญาณชีพหลังให้ยา 10-15 นาที
RR<12 ครั้ง/นาที PR<60ครั้ง/นาทีหรือ 120ครั้ง/นาที BP < 90 / 60 mm/Hg ให้รายงานแพทย์
เฝ้าระวังป้องกัน การตกเตียง นำไม้กั้นเตียงขึ้นและดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
ยามีผลในการกดการหายใจทั้งมารดาและทารกในครรภ์จึงควรเตรียมยา Narcan (Naloxone) ให้พร้อมใช้ทันที
ให้ในกรณีที่ผู้คลอดอยู่ในระยะ Active ปากมดลูกเปิด มากกว่า 3 เซนติเมตร หรือในกรณีที่ผู้คลอดไม่สามารถเผชิญความเจ็บปวดได้เหมาะสม
ให้ยาแก้ปวด Pethidine หรือยา Fentanyl ในกรณีที่ผู้คลอดเป็นหอบหืด
นางสาวภัณฑิรา ประนันท์ 6101210798 เลขที่ 34