Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
NUCLEIC ACID - Coggle Diagram
NUCLEIC ACID
เบสในกรดนิวคลีอิก
- เบสพีวรีน (purine base) ประกอบด้วยคาร์บอน 5 อะตอมและไนโตรเจน 4 อะตอมจัดเรียงตัวเป็นวงแหวนหกเหลี่ยมและเชื่อมต่อกับวงแหวนห้าเหลี่ยมอิมิดาโซล (imidazole ring) ได้แก่ Adenine กับ Guanine
- เบสไพริมิดีน (pyrimidine) ประกอบด้วยคาร์บอนอะตอม 4 อะตอมและไนโตรเจนอีก 2 อะตอม จัดเรียงกันเป็น วงแหวนรูปหกเหลี่ยม ได้แก่ Thymine, Cytosine และ Uracil
เบสทั้งสองชนิดสามารถดูดกลืนแสงได้ดีที่สุดที่ 260 nm เราจึงใช้สมบัติในการศึกษาการเลี่ยนแปลงโครงสร้างของกรดนิวคลีอิก
-
ความหมาย
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)เป็นสารชีวโมเลกุลที่มีขนาดใหญ่คล้ายโปรตีน ประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจนไนโตรเจน และฟอสฟอรัส กรดนิวคลีอิกพบทั้งในเซลล์พืชและสัตว์ร่างกายสามารถสร้างกรดนิวคลีอิกได้จากกรดอะมิโนและคาร์โบไฮเดรต กรดนิวคลีอิกทำหน้าที่เก็บและถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุ์กรรมของสิ่งมีชีวิตจากรุ่นหนึ่งไปยังรุ่นต่อไปให้แสดงลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ ยังทำหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตและกระบวนการต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต
-
โครงสร้างของไนโตรเจนเบส
น้ำตาลในกรดนิวคลีอิก
- น้ำตาลไรโบส (Ribose sugar) สูตร C5H10O5 คาร์บอนตำแหน่งที่ 2 มีหมู่ -OH
- น้ำตาลดีออกซีไรโบส (Deoxyribose sugar) สูตร C5H10O4 คาร์บอนตำแหน่งที่ 2 มีหมู่ H แทน -OH ทำให้ O หายไป 1อะตอม
-
-
-
-
ในปี ค.ศ. 1947 Erwin Chargaff นักชีวเคมีชาวอเมริกันและเพื่อนร่วมงาน ได้ศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของ DNA ที่ได้มาจากสิ่งมีชีวิตหลายชนิดและพบว่าความสัมพันธ์ของคู่เบส คือ Adenine = Thymine และ Cytosine = Guanine แสดงว่า Adenineจับคู่กับ Thymine และ Cytosine จับคู่กับ Guanine
กรดนิวคลีอิกพบครั้งแรกโดย Friedrich Miescher ในปี ค.ศ. 1870 และตั้งชื่อว่า นิวคลีอิน (nuclein) ต่อมาเมื่อพบว่ามีสภาพเป็นกรด จึงได้ชื่อว่า กรดนิวคลีอิก
ในปี ค.ศ.1950-1953 M.H.F. Wilkins นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ และ Rosalind Franklin เพื่อนร่วมงาน ได้ศึกษาโครงสร้างของDNA โดยอาศัยการหักเหของรังสีเอ็กซ์ (X-ray diffraction) พบว่ามีการจัดเรียงตัวเหมือนกัน และอยู่ในสภาพที่เป็นเกลียว (helix) โดยที่แต่ละรอบของเกลียวมีระยะเท่าๆ กัน