Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Abnormal uterine bleeding - Coggle Diagram
Abnormal uterine bleeding
ความหมาย
ภาวะเลือดระดูออกผิดปกติจากโพรงมดลูกออกกะปริบกะปรอยไม่สม่ำเสมอ หรือมีปริมาณระดูออกมาก รวมทั้งสตรีที มีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอดหลังวัยหมดระดูไปแล้ว
สาเหตุ
ในวัยรุ่นที่เพิ่งเริ่มมีประจ่าเดือนในช่วง 2 – 3 ปีแรกมักมีสาเหตุจากการท่างานของระบบฮอร์โมนเพศยังไม่สม่ำเสมอ ท่าให้เกิดการตกไข่ไม่สม่ำเสมอ
ในวัยเจริญพันธุ์ ตั้งครรภ์ที ผิดปกติ เช่น ภาวะแท้ง ท้องนอกมดลูก การตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก เป็นต้น
โรคทางนรีเวช เช่น ติ่งเนื้อในโพรงมดลูก เนื้องอก
มดลูก เยื่อบุมดลูกหนาตัว มะเร็งเยื่อบุมดลูกการ อักเสบในอุ้งเชิงกราน
ภาวะการณ์ตกไข่ไม่สม่ำเสมอ
เยื่อบุมดลูกฝ่อบาง
เยื่อบุมดลูกหนาตัว ติ่งเนื้อในโพรงมดลูก
มะเร็งเยื่อบุมดลูก
อาการแสดง
สตรีที่ มีภาวะเลือดออกผิดปกติจากมดลูก อาจมาด้วย
รูปแบบของประจ่าเดือนผิดปกติได้หลายรูปแบบ เช่น
รอบประจ่าเดือนไม่สม่ำเสมอ ระยะห่างสั้นกว่า 21วัน หรือนานกว่า 35 วัน
รอบประจ่าเดือนกะปริบกะปรอยปริมาณเลือดทีออกแต่ละครั้งมากบ้างน้อยบ้าง ในกรณีที มีรอบ ระดูออกมากและกะปริบกะปรอยเป็นระยะยาวนาน อาจมาด้วยอาการซีด อ่อนเพลีย หน้ามืด เป็นลม
การตรวจหาโรค
การตรวจภายใน
เพื่อหารอยโรคในช่องคลอด ติ่งเนื้อที ปากมดลูก เนื้อ
งอกมดลูก
การตรวจอัลตราซาวนด์
การตรวจหารอยโรคในโพรงมดลูก กล้ามเนื้อมดลูกและรังไข่ ซึ่งงสามารถท่าได้ทั้งทางช่องคลอดและทวารหนัก ซึ่งงจะให้ผลการตรวจที่ ชัดเจนกว่าการตรวจอัลตร้าซาวนด์ทางหน้าท้อง
ตรวจอัลตราซาวนด์พร้อมกับฉีดน้ำเกลือเข้าโพรง
มดลูก
ชัดเจนกว่าการตรวจอัลตร้าซาวนด์ทางหน้าท้องมดลูก โดยน้ำเกลือที่ฉีดเข้าในโพรงมดลูกจะเข้าไปล้อมรอบรอยโรคทำให้มองเห็นรอยโรคแยกออกจากเยื่อบุมดลูกได้ชัดเจนขึ้น
การดูดชิ้นเนื้อในโพรงมดลูก
เป็นการดูดชิ้นเนื้อเยื่อบุโพรงมดลูกเพื่อน่าเซลลดังกล่าวมาตรวจทางพยาธิวิทยา โดยวิธีนี้มีความเจ็บปวดน้อยกว่าการขูดมดลูกสามารถท่าการตรวจได้โดยไม่ต้องดมยาสลบหรือยาระงับความเจ็บปวดสามารถท่าได้ในห้องตรวจจึงเป็นการตรวจที ท่ามาก
ขึ้น เพื่ออทดแทนการขูดมดลูก
การขูดมดลูก
จะท่าเพื่อการรักษาเพื่อหยุดเลือด ร่วมกับการ
วินิจฉัยชิ้นเนื้อจากโพรงมดลูก
การตรวจโดยการส่องกล้องในโพรงมดลูก
เป็นการตรวจที่มีค่าใช้จ่ายสูง และต้องการนรีแพทย์ที มีความเชี่ยวชาญเป็นผู้ท่าการตรวจ
การรักษา
การพิจารณาวิธีการรักษานั้นขึ้นอยู่กับสภาพของผู้ป่วย ปริมาณเลือดที่ออก สาเหตุของเลือดที่ออก ความต้องการบุตร โรคประจำตัว โดยขั้นตอนแรกสุดเป้าหมายการรักษานั้นคือ ควบคุมเลือดที่ออกอยู่อย่างต่อเนื่อง และลดปริมาณเลือดประจำเดือนในรอบถัดไป โดยการใช้ยารักษาเป็นทางเลือกแรก และวางแผนในกรณีที่จำเป็นต้องผ่าตัดรักษา