Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9การเลือกผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และหลักฐานเชิงประจักษ์อื่นๆในการปฏ…
บทที่ 9การเลือกผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
และหลักฐานเชิงประจักษ์อื่นๆในการปฏิบัติการพยาบาล
หลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence) หมายถึง ความรู้ข้อมูลหรือความจริงที่เป็นอยู
การใช้ความรู้เชิงประจักษ์ หมายถึง การใช้กระบวนการวิจัยอยางเป็นระบบ เพื่อปรับปรุง
มาตรฐานและคุณภาพของการปฏิบัติ
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์
ส่วนที่ 2 ค่านิยมของผู้ใช้บริการ ค่านิยมนี้เกี่ยวข้องกับการกำหนดสิ่งที่ผู้ใช้บริการ
ให้ความสำคัญ/ คาดหวังและเห็นว่ามีคุณค่ากับสุขภาพของตนเอง
ส่วนที่ 1 ความเชี่ยวชาญของบุคลากรสุขภาพ ซึ่งความเชี่ยวชาญนี้เกิดจากการสั่ง
สมประสบการณ์จาก การทำงาน การศึกษาและฝึกอบรมทักษะการดูแลผู้ใช้บริการ
ส่วนที่ 3 หลักฐานเชิงประจักษ์ที่ดีที่สุด มักเกี่ยวข้องกับการศึกษาวิจัยในเรื่องที่
เกี่ยวข้องโดยใช้วิธีการศึกษาอย่างเป็นระบบ
กระบวนการปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์แบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน
การประเมินผู้ใช้บริการ (Assess the patient)
การตั้งคำถาม (Ask the question) เป็นการตั้งคำถามเกี่ยวกับการค้นหาวิธีการดูแล
ผู้ใช้บริการ ที่ดีที่สุด
การสืบค้นหลักฐานเชิงประจักษ์ (Acquire the evidence) เป็นการเลือกแหล่ง
สืบค้นหลักฐาน เชิงประจักษ์ต่าง ๆ
การประเมินหลักฐานเชิงประจักษ์ (Appraise the evidence) เป็นการประเมินความ
แม่นตรง และความสามารถในการประยุกต์ใช้ได้จริงของงานวิจัยที่สืบค้นได้
การนำไปใช้ (Apply) เป็นขั้นตอนของการนำหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ผ่านการพิจารณาว่า
ดีที่สุดไป ใช้ในการดูแลเพื่อแก้ไขปัญหา
การประเมินผล (Evaluation) เป็นขั้นตอนการตัดสินคุณค่าของผลการดูแลผู้ใช้บริการ
แนวปฏิบัติพยาบาล (Clinical Nursing Practice Guidelines, CNPGs)
หลักการสร้างแนวปฏิบัติพยาบาล
ต้องมีเป้าหมายหลักอยู่ที่ผลลัพธ์การบริการ (Outcomes)
ต้องมาจากการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (Best available evidence)
การคัดเลือกเนื้อหาหลักฐานเชิงประจักษ์ต้องผ่านการตัดสินใจของผู้มีประสบการณ์และ
มีความ เชี่ยวชาญเพื่อให้ได้มาซึ่งแนวปฏิบัติที่ดี
กระบวนการพัฒนาควรมาจากสหวิชาชีพ (Multidisciplinary team) โดยรวมทั้ง
ผู้ใช้บริการ (Consumers) และผู้เกี่ยวข้อง (Stakeholders)
ควรมีลักษะยืดหยุ่น สามารถประยุกต์ใช้ได้หลายหน่วยงาน
ควรพัฒนาบนฐานของค่าใช้จ่ายที่ลดลง
พัฒนาแล้ว ควรนำไปใช้ในกลุ่มเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ
ควรติดตาม
ประเมินผลการนำไปใช้และผลลัพธ์ที่ได้อย่างต่อเนื่อง
ควรทบทวนแนวปฏิบัติพยาบาลที่สร้างขึ้นมา
อย่างสม่ำเสมอ ขั้นตอนการพัฒนา
หมายถึง ข้อความแสดงวิธี ทำงานที่พัฒนาขึ้นอย่างเป็นระบบเพื่อช่วยในการตัดสินใจของพยาบาลวิชาชีพเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่ เหมาะสมสำหรับภาวะใดภาวะหนึ่ง
การสืบค้นและการประเมินคุณค่า
หลักฐานเชิงประจักษ์ที่สืบค้นได้
การสืบค้นหลักฐานเชิงประจักษ์ต้องทำเป็นระบบและให้ได้อย่างกว้างขวาง เพราะ
เป้าหมายหลักของ CNPGs คือ เกิดประโยชน์สูงสุด เกิดอันตรายน้อยที่สุดและมีค่าใช้จ่ายน้อย
กำหนดคำสำคัญในการสืบค้นตามกรอบการตั้งคำถาม PICO
P (Patient population or
problem)
คือ กลุ่มเป้าหมาย ลักษณะทาง
คลินิกของผู้ใช้บริการ
ตัวอย่าง ผู้ติดบุหรี่ในชุมชน
I (Intervention หรือ area of
interest)
คือ วิธีการจัดการปัญหา สิ่งที่จัด
กระทำให้แก่ผู้ใช้บริการ
ตัวอย่าง การให้คำปรึกษาแบบกระชับ
การให้คำปรึกษาแบบสร้าง แรงจูงใจ
C Comparison intervention)
คือ สิ่งที่ใช้เปรียบเทียบ ทางเลือก
อื่นที่ต้องการใช้เปรียบเทียบ
ตัวอย่าง เปรียบเทียบกับการให้
คำปรึกษาแบบเข้มข้น
O (Outcome)
คือ ผลลัพธ์ ผลที่ต้องการให้เกิด
ตัวอย่าง สถานภาพการเลิกบุหร