Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาษาและวัฒนธรรมไทยสำหรับความเป็นครู, 60206554 นางสาวสุจิตรา…
ภาษาและวัฒนธรรมไทยสำหรับความเป็นครู
ความสำคัญภาษาและวัฒนธรรมไทยสำหรับความเป็นครู
ประโยชน์ของภาษา
ภาษาแสดงความเป็นปัจเจกบุคคล
ภาษาช่วยให้มนุษย์พัฒนา
ภาษาช่วยธำรงสังคม
ภาษาช่วยกำหนดอนาคต
ภาษาช่วยจรรโลงใจ
ความสำคัญของวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมทำให้เกิดความสามัคคีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน สังคมที่มีวัฒนธรรมเดียวกันย่อมจะมีความรู้สึกผูกพันเดียวกัน เกิดความเป็นปึกแผ่น
วัฒนธรรมเป็นตัวกำหนดรูปแบบของสถาบัน เช่น รูปแบบของครอบครัวจะเห็นได้ว่าลักษณะของครอบครัวแต่ละสังคมต่างกันไป
วัฒนธรรมเป็นเครื่องสร้างระเบียบแก่สังคมมนุษย์ วัฒนธรรมไทยเป็นเครื่องกำหนดพฤติกรรมของสมาชิกในสังคมไทย ให้มีระเบียบแบบแผน
วัฒนธรรมเป็นเครื่องมือช่วยแก้ปัญหา และสนองความต้องการของมนุษย์ มนุษย์ไม่สามารถดำรงชีวิตภายใต้สิ่งแวดล้อมได้อย่างสมบูรณ์
วัฒนธรรมช่วยให้ประเทศชาติเจริญก้าวหน้า หากสังคมใดมีวัฒนธรรมที่ดีงามเหมาะสม
วัฒนธรรมเป็นเครื่องแสดงเอกลักษณ์ของชาติ คำว่า เอกลักษณ์ หมายถึง ลักษณะพิเศษหรือลักษณะเด่นของบุคคลหรือสังคม ที่แสดงว่าสังคมหนึ่งแตกต่างไปจากอีกสังคมหนึ่ง
คุณลักษณะความเป็นครู
บทบาทของครูตาม TEACHERS MODEL
T – Teaching (การสอน)
E – Ethics (จริยธรรม)
A – Academic (วิชาการ)
C – Cultural Heritage (การสืบทอดวัฒนธรรม)
H – Human Relationship (มนุษยสัมพันธ์)
E – Evaluation (การประเมินผล)
R – Research (การวิจัย)
S – Service (การบริการ)
บทบาทหน้าที่ของครูตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พัฒนาตนเองให้เป็นบุคคลที่ใฝ่รู้
เป็นแบบอย่างที่ดี มีคุณธรรม ปฏิบัติต่อเพื่อนครูและผู้เรียน
จัดทำและพัฒนาสื่อการเรียนรู้
จัดสภาพแวดล้อมของห้องเรียนและสถานศึกษาให้เอื้อต่อการเรียน
จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
จัดการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสภาพจริงของผู้เรียน
วางแผนสร้างหน่วยการเรียนรู้ กำหนดกิจกรรมการเรียนรู้
จัดทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการการเรียนรู้
ความหมายของบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ
หน้าที่ หมายถึง งานการปฏิบัติ การบริหาร หรือธุรกิจที่ต้องกระทำตามคำสั่งให้เกิดผลด้วยความดี หรือการปฏิบัติงานตามตําแหน่ง
ความรับผิดชอบ หมายถึง การปฏิบัติงานและหน้าที่
ที่ได้รับมอบหมายให้ดีที่สุดที่จะสามารถทำได้
บทบาท หมายถึง การแสดงออกของคนซึ่งคนอื่นคาดคิด หรือหวังว่าเขาจะกระทําเมื่ออยู่ภายใต้สถานการณ์ทางสังคมอย่างหนึ่ง
บทบาทของครูต่อเยาวชน
ในฐานะที่เป็นศิลปะทายก มีหน้าที่สั่งสอนวิชาการต่างๆ
ในฐานะที่เป็นเสมือพ่อแม่คนที่สอง และเป็นกัลยาณมิตรของศิษย์ มีหน้าที่อบรมสั่งสอนให้ศิษย์เป็นคนดี เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม
บทบาทของครูต่อสังคม
ครูควรร่วมในองค์การ สมาคม หรือชมรมที่ส่งเสริมศาสนาวัฒนธรรมและงานสังคมสงเคราะห์เพื่อจะได้มีโอกาสบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่นและสังคมยิ่งขึ้น
ช่วยส่งเสริมการปกครองแบบประชาธิปไตย ซึ่งมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ชักจูงประชาชนให้สนใจในการเลือกตั้ง และใช้สิทธิในการเลือกตั้งโดยไม่เห็นแก่อามิสสินจ้าง
ครูมีบาทบาทต่อสังคม ควรทำตนเป็นผู้นำของชุมชน ช่วยให้การพัฒนาชุมชนให้สงบสุข และเจริญก้าวหน้าทั้งในด้านวัตถุและจิตใจ
ช่วยให้คำแนะนำแก่ชุมชน ในเรื่องความมั่นคงของชาติ ป้องกันผู้บ่อนทำลายชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
บทบาทของครูต่อศาสนา
เพื่อให้นักเรียนมีความใกล้ชิดกับศาสนามากขึ้น
ครูควรนำนักเรียนไปวัดเป็นประจำ
เพื่อไปศึกษาและปฏิบัติธรรม
เพื่อแสดงความจงรักภักดีต่อศาสนา
ครูจะต้องมีความเลื่อมใสศรัทธา
ในศาสนาที่ตนนับถือศึกษาหาความรู้
ครูควรมีศาสนสัมพันธ์อันดีกับผู้นับถือศาสนาอื่น ไม่ให้การนับถือศาสนาที่ต่างกันมาทำให้เกิดความขัดแย้งจนแตกสามัคคี
ครูมีบทบาทต่อศาสนา ต้องช่วยทะนุบำรุงรักษาศาสนาให้เจริญมั่นคง สถิตสถาพรอยู่ตลอดไปด้วยการประพฤติปฏิบัติตามหลักคำสอนของศาสนานั้นๆ
บทบาทของครูในฐานะเป็นวิศวกรสังคม
ใช้ความชำนาญ ความรู้ ประสบการณ์ในหลายๆ ด้าน
เปรียบเสมือนผู้สร้างเครื่องมือสำหรับการใช้ในการพัฒนาสังคม
เป็นผู้นำเอาความรู้ด้านต่างๆ มาประยุกต์ในการสอน
บทบาทของครูต่อการพัฒนาการเมืองการปกครอง
ประเทศ ฝึกหัดเยาวชนให้นำรูปแบบการปกครอง
ของประเทศมาปรับใช้ในการดำเนินกิจกรรมในสถานศึกษา
ส่งเสริมการเลือกตั้งและสร้างค่านิยม
ในระบอบประชาธิปไตยให้แก่ประชาชน
ให้ความรู้ความเข้าใจแก่เยาวชนในเรื่องระบอบการปกครองของประเทศ
บทบาทของครูต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของชาติ
ส่งเสริมกิจกรรมด้านสหกรณ์ร้านในโรงเรียน
และการออมทรัพย์เพื่อสร้างนิสัยในการประหยัดอดออม
ส่งเสริมให้เกิดการผลิตและการนำเทคโนโลยีใหม่ๆ
มาใช้ในการทำงานและอาชีพ
ส่งเสริมให้นักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สูงสุด
บทบาทของครูในการสร้างสันติสุข
จัดสร้างสถานการณ์ต่างๆ ที่จะเอื้ออำนวยการให้นักเรียนรู้จักคิด มีเหตุผล จะพูดจะทำหรือจะคิดอะไรมักจะใช้วิจารณญาณ
พยายามปลูกฝังลักษณะนิสัยสำคัญๆ ให้เกิดขึ้นในตัวนักเรียน
พัฒนานักเรียนให้ผู้มีระดับสติปัญญาสูงขึ้น
มีความรอบรู้ในสรรพวิทยาการต่างๆ
การปลูกฝังค่านิยมและมโนทัศน์ที่ถูกต้องให้นักเรียน โดยเฉพาะคนในเมืองใหญ่ที่มักมีค่านิยมผิดไปจากที่ควรจะเป็น
การปลูกฝังความเป็นนักประชาธิปไตยให้แก่นักเรียน บทบาทของครูในด้านการปลูกฝังความเป็นนักประชาธิปไตยนี้เป็นสิ่งสำคัญยิ่งในการพัฒนาประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตย
บทบาทของครูในฐานะผู้ถ่ายทอดภาษาและวัฒนธรรม
วัฒนธรรมไทยกับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมหลัก วัฒนธรรมรอง (หรืออนุวัฒนธรรมที่เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า subculture) และวัฒนธรรมสากล
วัฒนธรรมหลัก หรือวัฒนธรรมของชาติ มักได้รับการยอมรับสนับสนุนโดยรัฐบาลกลาง ในประเทศไทย
เรามีวัฒนธรรมไทยเป็นวัฒนธรรมของชาติ
วัฒนธรรม เป็นสิ่งที่แสดงถึงระเบียบแบบแผนในการดำรงชีวิตของคนในสังคมที่มีการสืบทอดต่อกันมาเป็นเวลานาน จนกลายเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต
วัฒนธรรมไทยประจำภูมิภาค
วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคกลาง วัฒนธรรมท้องถิ่น ภาคกลางส่วนใหญ่เป็นวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนา เช่น ด้านศาสนาและลัทธิความเชื่อ ด้านที่เกี่ยวกับการดำรงชีวิตทางการเกษตร ด้านยาและการรักษาพื้นบ้าน
วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชนพื้นเมืองถิ่นอีสานดำรงชีวิตอย่างเรียบง่าย วัฒนธรรมต่าง ๆ ของภาคอีสานเป็นการนำแนวความคิด ความศรัทธา และความเชื่อที่ได้สั่งสม สืบทอดเป็นมรดกต่อกันมา
วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือ เป็นวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว โดยเฉพาะวัฒนธรรมของชาวล้านนาที่ยังคงยึดมั่นในขบธรรมเนียมประเพณีของพระพุทธศาสนา ที่แสดงออกถึงมิตรไมตรีและความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน
วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้ ภาคใต้มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาอันยาวนาน เป็นแหล่งรับอารยธรรมพระพุทธศาสนา ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาอิสลาม ซึ่งได้หล่อหลอมเข้ากับความเชื่อดั้งเดิม ก่อให้เกิดการบูรณาการเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้
มุมมองต่อวัฒนธรรมในยุคปัจจุบัน
พัฒนาการด้านภูมิปัญญาของสังคมโดยรวม
การสร้างสรรค์ เช่น งานศิลปะ
ความเป็นสิ่งที่คุ้นเคยในทางจิตวิญญาณ
วิถีชีวิตมนุษย์
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
โดยใช้ภาษาและวัฒนธรรมเป็นฐาน
เทคนิคในการถ่ายทอดของครู
เทคนิคการทำให้ผู้เรียนเข้าใจและจำง่าย
เทคนิคการสอนบรรยาย
เทคนิคการสร้างอารมณ์ขัน การถ่ายทอดทำให้สนุกสนาน
เทคนิคการสร้างอารมณ์ขัน
สะสมจัดจำประโยค คำพูดที่ดี และสร้างสรรค์
นำมาดัดแปลงแต่งเล็กน้อยเอาไว้ใช้ในการสนทนาปราศรัยกับบุคคลต่างๆ
มองโลกในแง่ดี
แสดงถูกกาลเทศะ คือ พูดให้เหมาะสม กับเวลา บุคคล โอกาสและสถานที่
มีความแหลมคม จดจำและบันทึก
คำพูดหรือประโยคที่ใช้คำแหลมคมทั้งหลาย
ศิลปะการถ่ายทอดของครูมืออาชีพ
มีความฉลาดทางอารมณ์ EQ
มีคุณธรรมจริยธรรม MQ
มีความสามารถทางสติปัญญา IQ
ศิลปะในการสร้างแรงจูงใจให้เกิดการเรียนรู้
ครูควรนำสื่อมาสร้างช่องทางการรับรู้ของผู้เรียน
การพูดให้เข้าใจ ต้องได้เนื้อหาสาระคละเคล้าสนุก
ครูควรมีความสามารถในการถ่ายทอดได้ดี
มีการปลุกสมองให้รู้จัดคิด ช่วยพิชิตปัญหา
การสร้างแรงจูงใจ กระตือรือร้น ร่วมมือที่จะเรียนรู้ มีบรรยากาศดี
60206554 นางสาวสุจิตรา ศรีอัจฉริยะวณิช