Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การดูแลผู้คลอดเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด (โดยไม่ใช้ยา)…
บทที่ 2 การดูแลผู้คลอดเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด (โดยไม่ใช้ยา) และการส่งเสริมสุขภาพในระยะคลอด
วิธีการบรรเทาความเจ็บปวดแต่ละชนิดแก่ผู้คลอด
ปฏิกิริยาและการตอบสนองต่อความเจ็บปวดผู้คลอดและทารกในครรภ์ในระยะคลอด
ปฏิกิริยาและการตอบสนองต่อความเจ็บปวดในระยะคลอดของผู้คลอด
ระดับเหนือไขสันหลัง มีการกระตุ้นautonomic centerในไฮโปธาลามัสเร่งการทำงานของประสาทซิมพาเธติคให้หลั่งepinephrineเพิ่มขึ้น
ระดับเปลือกสมองทำให้เกิดปฏิกิริยา ปฏิกิริยาทางจิตทำให้วิตกกังวลกลัว เศร้า โกรธ ปฏิกิริยาทางจิตสรีระ
ระดับไขสันหลัง มีreflexท าให้กล้ามเนื้อลายและหลอดเลือดหดตัวขาดเลือดมาเลี้ยงส่งผลให้เกิดanaerobic metabolismส่งผลให้เกิดlactic acidและlocal acidosis
ปฏิกิริยาและการตอบสนองต่อความเจ็บปวดด้านทารกในครรภ์
การยับยั้งการส่งพลังประสาทความเจ็บปวดไปยังสมอง
การส่งสัญญาณจากเรติคูลาร์ฟอร์เมชั่นในก้านสมอง
การส่งสัญญาณจากเปลือกสมองและธาลามัส
การทำงานของใยประสาทการรับรู้ของใยประสาทขนาดใหญ่และขนาดเล็ก
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวข้องกับความเจ็บปวดในระยะคลอด
การเปิดขยายของปากมดลูกตลอดเวลาความปวดที่เกิดขึ้นจะหายไปเมื่อสิ้นสุดกระบวนการคลอด
การดูแลผู้คลอดอย่างมีประสิทธิภาพนั้น พยาบาลผดุงครรภ์ต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการอาการเจ็บครรภ์และวิธีเผชิญอาการเจ็บครรภ์ในระยะคลอดอย่างถูกต้อง
เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา รวมทั้งมีกลไกอาการเจ็บครรภ์เกิดขึ้น
ทฤษฎีต่างๆ ในร่างกาย
ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนระหว่างEstrogen และ progesterone
ทฤษฎีกระตุ้นฮอร์โมน Oxytocin
ทฤษฎีการยืดขยายของมดลูก (uterine stretch theories)
ทฤษฎีการหลั่งฮอร์โมนProstaglandin
แนวทางการบรรเทาการเจ็บครรภ์คลอดจากหลักฐานเชิงประจักษ์
ด้านจริยธรรมและสิทธิผู้คลอด
ผู้คลอดทุกคนมีสิทธิในการได้รับการจัดการอาการปวดที่เหมาะสม
ผู้คลอดและครอบครัวมีสิทธิที่จะได้รับความรู้เกี่ยวกับการเจ็บครรภ์คลอด
ผู้คลอดทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการประเมินอาการปวดที่เหมาะสม
ด้านการประเมินความเจ็บปวด
ใช้เครื่องมือประเมินการเจ็บครรภ์ที่โดยใช้การรายงานอาการเจ็บครรภ์จากความรู้สึกของผู้คลอด
ประเมินอาการเจ็บครรภ์ตั้งแต่แรกรับผู้คลอดไว้ในหน่วยคลอด
การดูแลเพื่อบรรเทาความปวดในระยะคลอดโดยไม่ใช้ยา
การกระตุ้นประสาทส่วนปลาย
การบ้าบัดโดยใช้น้ำหรือวารีบ้าบัด
การสัมผัส การนวด และการกดจุด
การนวด
การนวดร่างกายผู้คลอดบริเวณที่เจ็บปวด จะชบรรเทาความปวดตามทฤษฎีควบคุมประตู การนวดช่วยกระตุ้นต่อมใต้สมองให้หลั่งสารเคมีมีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีนเพิ่มขึ้นในร่างกาย ซึ่งสารเคมีดังกล่าวจะออกฤทธิ์ควบคุมความเจ็บปวด
การกดจุด
การลูบ
การลูบถือเป็นการนวดเพียงเบา ๆ ใช้ปลายนิ้วมือลูบเป็นวงกลมด้วยจังหวะสม่ าเสมอ ไม่ออกแรงกดกล้ามเนื้อ
การประคบร้อน และเย็น
การส่งเสริมการยับยั งการส่งกระแสประสาทจากไขสันหลังในระดับสมอง
การเพ่งและเบี่ยงเบนความสนใจ (attention-focusing and distraction)
สุคนธบำบัด
การใช้ดนตรี
การใช้เทคนิคการหายใจ(breathingtechnique)
วิธีหายใจในระยะปากมดลูกเปิดช้า แนะนำการหายใจแบบช้า
วิธีหายใจในระยะปากมดลูกเปิดเร็วระยะนี้จะมีความปวดเพิ่มขึ้นมาก ผู้คลอดจะควบคุมตัวเองไม่ค่อยได้ พยาบาลผดุงครรภ์หรือผู้ดูแลต้องทำหน้าที่เป็นโค้ช
การเบ่งคลอด(pushing)
การลดตัวกระตุ้นความปวด
การเคลื่อนไหว
การนั่ง การนั่งเก้าอี้โยก(rocking)การนั่งเอียงไปมาบนลูกบอล (swaying)
นั่งยอง การเดิน และการเต้นรำช้า ๆ
ท่า
ท่าคุกเข่า (all four or hands and knees position)
ท่าพีเอสยูแคท (PSU Cat)
ท่าคุกเข่าโน้มตัวไปข้างหน้าโอบแขนและพักบนลูกบอลที่มีความสูงระดับไหล่
ท่านั่งยอง
การเคลื่อนไหวอย่างอิสระ
ท่าศีรษะและลำตัวสูง(upright position)
แนวปฏิบัติในการบรรเทาการเจ็บครรภ์คลอดจากหลักฐานเชิงประจักษ์
วิธีการไม่ใช้ยา / ใช้ร่วมกับการใช้ยา
การปรับท่าทางและการเคลื่อนไหวในระยะคลอด
ในรายที่ปากมดลูกเปิดน้อย (latent phase) และไม่มีข้อห้าม
ส่งเสริมให้ผู้คลอด เดิน/ยืน ทำให้ความเจ็บปวดจากการหดรัดตัวของมดลูกลดลง
การเดินทำให้สุขสบาย คลอดเร็ว เชิงกรานได้เคลื่อนไหวอย่างเป็นอิสระ
ขณะรอคลอดควรปรับในผู้คลอดอยู่ในท่า Upright โดยการนั่งพิง/ท่าคลาน
การนวดและการสัมผัส(Touch and massage)
นวดแบบกดเน้นบริเวณกระดูกกระเบนเหน็บ เพื่อช่วยลดความเจ็บปวดเมื่อศีรษะทารกเคลื่อนต่ำ
การสัมผัสโดยพยาบาลหรือผู้ดูแล เป็นการสัมผัสเพื่อให้กำลังใจเป็นเวลาอย่างน้อย 5-10 นาที
นวดที่บริเวณศีรษะ หลัง มือ เท้า ตามบริเวณที่ผู้คลอดชอบ เป็นเวลานานอย่างน้อย 20 นาที
การดูแลอย่างต่อเนื่อง(Labor Support)
ดูแลโดยผู้ที่เชี่ยวชาญด้านการคลอด พยาบาลผดุงครรภ์ หรือสามี/ญาติซึ่งควรผ่านการอบรมเกี่ยวกับการคลอดบุตร
ควรมีทางเลือกให้ผู้คลอด นำญาติหรือสามีเข้ามาดูแลในระยะรอคลอด
การบำบัดด้วยน้ำ (Hydrotherapy-warm or cool)
การประคบร้อนโดยการใช้ผ้าประคบร้อน ประคบบริเวณท้องส่วนล่าง ต้นขา ขาหนีบ ฝีเย็บ และหลัง
การประคบเย็น เป็นการใช้ผ้าเย็นเช็ดใบหน้า ลำตัว ช่วยให้สุขสบาย หรือประคบบริเวณหลัง และลำคอส่วนหลัง
โปรแกรมการให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ในทีมสุขภาพ
การประเมินการเจ็บครรภ์
วิธีการพยาบาลเพื่อบรรเทาการเจ็บครรภ์ทั้งการใช้ยาและไม่ใช้ยา
ผลข้างเคียงจากวิธีการบรรเทาความทุกข์ทรมานจากการเจ็บครรภ์
การให้ความรู้เรื่องการเจ็บครรภ์ กับผู้คลอด
การผ่อนคลายหรือการหายใจ(Relaxation and breathing)
การใช้เทคนิคหายใจ(Breathing) การหายใจที่ถูกต้อง
มดลูกเริ่มหดรัดตัว หายใจล้างปอด 1 ครั้ง
หายใจเข้าทางจมูกออกทางปากลักษณะห่อปาก ใช้ทรวงอกช้าๆ 6-8 ครั้งต่อนาทีจนกระทั่งมดลูกคลายตัว หายใจล้างปอดอีก 1 ครั้ง
การใช้เทคนิคผ่อนคลาย(Relaxation)
ใช้เทคนิคผ่อนคลายจากการอบรมเพื่อเตรียมคลอด ทำให้การรับรู้ความเจ็บปวดลดลง ความทนต่อความเจ็บปวดดีขึ้น
การเตรียมความรู้ก่อนคลอด(Childbirth education)
เน้นการมีส่วนรวมของสตรีตั้งครรภ์ให้มากที่สุด
ควรให้ความรู้เกี่ยวกับความทุกข์ทรมานจากการเจ็บครรภ์ (Labor pain) แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง
การเตรียมความรู้เกี่ยวกับการบรรเทาความทุกข์ทรมานจากการเจ็บครรภ์จะทำให้ผู้คลอดมีความเชื่อมั่น
วิธีการ อื่นๆ
การปรับสภาพแวดล้อมในห้องรอคลอด เช่น การลดแสงกระตุ้น การลดเสียงรบกวน
การส่งเสริมความเป็นส่วนตัวปิดม่านขณะทำกิจกรรม
วิธีการใช้ยา
หากผู้คลอดไม่สามารถเผชิญความเจ็บปวดได้เหมาะสม ควรส่งเสริมให้ผู้คลอดนำเทคนิคบรรเทาปวดที่ใช้ได้ผลก่อนหน้านี้มาใช้ต่อเนื่อง เช่น เทคนิคหายใจ ผ่อนคลาย ปรับท่าทาง
การจัดการความเจ็บปวดในระยะคลอดโดยการใช้ยา
แนวทางการจัดการยาPethidine ( Meperidine )
การเตรียมยา
ตรวจสอบชื่อ สกุล เลขที่โรงพยาบาลของผู้คลอดชื่อยา ขนาดยา จากorderและใบคำสั่ง
จัดเตรียมยาโดยเจือจางด้วย sterile water for injection จำนวนอย่างละ 5 -10 cc เพื่อให้ยาเจือจางอย่างน้อย 10mg/ mL
พยาบาลผู้รับ order จัดเตรียมยา โดยมีการ double checkชื่อยา ขนาด โดยพยาบาลอีกคน
การบริหารยา
ตรวจสอบชื่อ –สกุล ผู้คลอดเลขที่โรงพยาบาลHN ผู้คลอดพร้อมดูป้ายข้อมือให้ตรงกันกับใบคำสั่งก่อนฉีดยา
ซักถามประวัติการแพ้ยา และประวัติการเป็นโรคหืดหอบก่อนฉีดยา ถ้ามีให้ปรึกษาแพทย์ก่อนฉีดยา
การสั่งใช้ยาและการคัดลอกยา
ยืนยันความถูกต้องของผู้ป่วย
แพทย์เป็นผู้สั่งยาโดย สั่งยา Pethidineเป็น mg และวิธีการให้ยาชัดเจน
การติดตามผล
ประเมินอัตราการหายใจ /ชีพจรหลังให้ยา 10-15 นาทีถ้า RR<12 ครั้ง/นาที PR<60ครั้ง/นาทีหรือ 120ครั้ง/นาที BP < 90 / 60 mm/Hgให้รายงานแพทย์
เฝ้าระวังป้องกันการตกเตียง นำไม้กั้นเตียงขึ้นและดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
ติดตามประสิทธิผลของการให้ยา , อาการข้างเคียง
การเก็บรักษา
มีการบันทึกการใช้
มีการตรวจนับทุกเวรโดยพยาบาล
เก็บไว้ในลิ้นชัก มีกุญแจล็อค
แนวทางการจัดการยาFentanyl
การเตรียมยา
พยาบาลผู้รับorderจัดเตรียมยา โดยมีการcheckชื่อยา ขนาดให้ถูกต้อง
ตรวจสอบชื่อ สกุล เลขที่โรงพยาบาลผู้คลอดชื่อยา ขนาดยาจากorder และใบคำสั่ง
จัดเตรียมยาโดยเจือจางsterile water for injection Fentanyl 1 amp มี 2 ml (0.05 mg/ml) 1 amมี 0.1mg. (100 mcg)
การบริหารยา
ตรวจสอบชื่อ –สกุล ผู้คลอดเลขที่โรงพยาบาลHNผู้คลอดพร้อมดูป้ายข้อมือให้ตรงกันกับใบคำสั่งก่อนฉีดยา
ซักถามประวัติการแพ้ยามอร์ฟิน ถ้ามีให้ปรึกษาแพทย์ก่อนฉีดยาสามารถให้ได้ในผู้คลอดที่เป็นหอบหืด
ให้คำแนะนำ ฤทธิ์ของยาและฤทธิ์ข้างเคียงของยาที่อาจมีได้
การสั่งใช้ยาและการคัดลอกยา
สั่งยาFentanylเป็นmcgโดยวิธีทางการให้ยาชัดเจน การdiluteการฉีดยาชา การพิจารณาตามอายุ น้ าหนัก สภาพร่างกาย
แพทย์ยืนยันความถูกต้องของผู้ป่วย ห้ามให้ผู้ป่วยที่แพ้ มอร์ฟินหรือสารที่ออกฤทธิ์เหมือนมอร์ฟิน
การติดตามผล
ติดตามประสิทธิผลของการให้ยา,อาการข้างเคียง ได้แก่ ภาวะกดการหายใจ หายใจช้า หน้ามืด เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ถ้ามีให้ดูแลประคับประคองตามอาการ
ประเมินอัตราการหายใจ / ชีพจรหลังให้ยา 10 –15 นาที ถ้าRR<12 ครั้ง/นาทีPR<60ครั้ง/นาที
BP < 90/60 mm/Hgให้รายงานแพทย์
การเก็บรักษา
เก็บไว้ในลิ้นชัก กุญแจล็อค แยกเก็บ
มีการบันทึกการใช้ โดยระบุชื่อ-สกุลเลขที่โรงพยาบาลและจำนวนที่ใช้ในการบันทึกยา