Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
9. การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ ✨🍻🚽🧻🌍🏥🚑, ✨🚑🏢🏥จัดทำโดย…
9. การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ
✨🍻🚽🧻🌍🏥🚑
9.5 การสวนปัสสาวะ
มีวัตถุประสงค์ของการใส่สายสวนปัสสาวะ
ชนิดของการสวนปัสสาวะ อุปกรณ์ และวิธีการสวนปัสสาวะ
2 ชนิดของการสวนปัสสาวะ
2) การสวนคาสายสวนปัสสาวะ ( Indwelling catheterization or retained
catheterization)
1) การสวนปัสสาวะเป็นครั้งคราว (Intermittent catheterization)
1 วัตถุประสงค์ของการสวนปัสสาวะ
2) เพื่อช่วยให้กระเพาะปัสสาวะว่างในผู้ป่วยที่ต้องทำหัตถการต่างๆ
3) เพื่อตรวจสอบจำนวนน้ำปัสสาวะที่เหลือค้างในกระเพาะปัสสาวะ
1) เพื่อระบายเอาน้ำปัสสาวะออกในผู้ป่วยที่ไม่สามารถถ่ายปัสสาวะเองได้
4) เพื่อเก็บน้ำปัสสาวะส่งตรวจเพาะเชื้อ
5) เพื่อสวนล้างกระเพาะปัสสาวะ หรือใส่ยาในกระเพาะปัสสาวะ
6) เพื่อศึกษาความผิดปกติของท่อปัสสาวะ
7) เพื่อตรวจสอบจำนวนน้ำปัสสาวะที่ขับออกมาในผู้ป่วยอาการหนักอย่างถูกต้อง
3 อุปกรณ์
5) กระบอกฉีดยาปลอดเชื้อ (Sterile syringe) ขนาด 10 มิลลิลิตร 1 อัน
4) น้ำกลั่นปลอดเชื้อ (Sterile water) และน้ำยาทำลายเชื้อ (Antiseptic solution) เช่น
Povidone-iodine (บางโรงพยาบาลไม่ใช้)
3) สารหล่อลื่นสายสวนชนิดละลายน้ำได้ เช่น KY-jelly
2) ชุดสวนปัสสาวะที่ปราศจากเชื้อ (Sterile catheterization set)
1) ชุดทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ 1 ชุด หม้อนอน ถุงมือสะอาด 1 คู่ ถุงกระดาษหรือ
ถุงพลาสติกสำหรับทิ้งสำลีใช้แล้ว
6) Transfer forceps
7) ถุงรองรับปัสสาวะปลอดเชื้อและเป็นระบบปิด (Sterile urine bag) 1 ใบ
8) โคมไฟ หรือไฟฉาย
9) พลาสเตอร์, เข็มกลัด
10) สายสวนปัสสาวะ การเลือกใช้สายสวนปัสสาวะควรพิจารณาวัตถุประสงค์ของการใช้งาน
และขนาดของสายสวนปัสสาวะ
คือเป็นการใส่สายสวนปัสสาวะ (Urinary catheter) ที่ปลอดเชื้อผ่านท่อปัสสาวะ
เข้าสู่กระเพาะปัสสาวะเพื่อระบายปัสสาวะออกมา
4 การสวนปัสสาวะ
1) การสวนคาสายสวนปัสสาวะ (Indwelling หรือ Retention catheter)
2) การถอดสายสวนปัสสาวะที่คาไว้ (Removing Indwelling or Retention catheters)
การสวนคาสายสวนปัสสาวะและการถอดสายสวนปัสสาวะที่คาไว้
9.6 หลักการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการใส่ถุงยางอนามัยเพื่อระบายปัสสาวะได้
อธิบาย
จะพิจารณาผู้ที่มีปัญหา ไม่สามารถควบคุมการขับถ่าย
ปัสสาวะ เพราะถุงยางอนามัยลดอัตราเสี่ยงการนำเชื้อเข้าไปในกระเพาะปัสสาวะ
ไม่ทำให้เกิด
อันตรายต่อท่อปัสสาวะ
เมื่อใส่ถุงยางอนามัยเพื่อระบายปัสสาวะ ต้องเปลี่ยนถุงยางอนามัยอย่างน้อย
24 ชั่วโมง
การใส่ถุงยางอนามัย เป็นการระบายปัสสาวะภายนอก
ต้องทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ทุกครั้งที่เปลี่ยนถุงยางอนามัย
ในผู้ชายให้ปัสสาวะไหลไปตามท่อลงสู่
ภาชนะหรือถุงรองรับปัสสาวะ
วัตถุประสงค์
2) ป้องกันการเกิดแผลกดทับในรายที่ต้องรักษาตัวนาน ๆ
3) ป้องกันการติดเชื้อจากการใส่สายสวนปัสสาวะค้างไว้
1) เพื่อรักษาความสะอาด และป้องกันการระคายเคืองของผิวหนัง
เนื่องจากเปียกปัสสาวะ
บ่อย ๆ
4) ป้องกันการอักเสบในรายที่มีแผล
ในกรณีที่ผู้ป่วยอยู่ที่บ้าน
ไม่สามารถหาซื้อถุงยางอนามัยได้ ญาติอาจใช้ถุงพลาสติกใช้แทนให้
พอเหมาะ
ขั้นตอนการเตรียมเหมือนกับถุงยางอนามัย
ผนึกปากถุงพลาสติก แล้วเจาะรูกลม
ขนาดให้องคชาติสอดเข้าไปได
ตัดพลาสเตอร์ให้เป็นรูกลม รอยติดอยู่ด้านนอก
ต้องเปลี่ยนถุงพลาสติกทุกครั้งที่ถ่าย
ปัสสาวะออกมา
นำถุงพลาสติกสวมตรง
องคชาตแล้ว พลาสเตอร์จะได้ติดที่บริเวณผิวหนังพอด
คอยระวังไม่ให้ถุงยางบิดเป็นเกลียว หรือ
ท่อสายยางของถุงรองรับปัสสาวะหัก พับงอ
ต้องคอย
ดูแลให้ปัสสาวะระบายลงสู่ถุงรองรับปัสสาวะได้สะดวก
สังเกตดูพบว่าหนังหุ้มองคชาตมีรอยถลอก บวม แดง หรือมีสีเปลี่ยนไปเพราะเลือด
ไหลเวียนไม่สะดวกจากการที่ถุงยางรัดเกินไปให้งดใส่ชั่วคราว และรายงานแพทย
เนื่องจาก มีโอกาสที่ผิวหนังบริเวณองคชาต
จะบวม แดง และถลอก
ต้องเปลี่ยนถุงยางอนามัยให้ผู้ป่วยทุกวัน ก่อนที่จะเช็ดตัวหรืออาบน้ำ แล้ว
ใช้น้ำกับสบู่ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ เช็ดให้แห้ง
หลังจากที่เช็ดตัวหรืออาบน้ำเสร็จแล้ว จึงใส่
ถุงยางอันใหม่
✨🚑🏢🏥
จัดทำโดย 🌈👩⚕️🐱🌾นางสาวพลินี จำปา 19A 6201210378