Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
9. การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ ✨🍻🚽🧻🌍🏥🚑, ✨🚑🏢🏥จัดทำโดย…
9. การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ
✨🍻🚽🧻🌍🏥🚑
9.3 ส่วนประกอบของปัสสาวะที่ผิดปกติ
ปัสสาวะที่ปกติจะประกอบด้วย น้ำ 96% ยูเรีย 2% และสารอื่น ๆ 2%
ส่วนประกอบของปัสสาวะที่ผิดปกติ
3.5 ปัสสาวะมีสีเหลืองน้ำตาลของบิลิรูบิน (Bilirubinuria หรือ Choluria)
bilirubin เป็น Breakdown product ของ Hemoglobin
ถ้าพบ Conjugated bilirubin ในปัสสาวะ แสดงว่ามีการอุดตันของทางเดินน้ำดีจาก
การมี Hemolytic jaundice
ภาวะที่
ตรวจพบบิลิรูบินในน้ำปัสสาวะ bilirubin เป็น Breakdown product ของ Hemoglobin
ถ้าพบ Urobilirubin ในปัสสาวะแสดงว่าเซลล์ตับถูกทำลาย
3.4 คีโตนในปัสสาวะ (Ketonuria)
ภาวะที่ตรวจพบคีโตนในน้ำปัสสาวะโดยคีโตนเป็น
ผลจากการเผาผลาญไขมันให้เป็นพลังงาน แทนพลังงานที่ได้จากน้ำตาล
พบในผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการ
รักษาไม่ดี ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้และพบในผู้ป่วยที่ขาดอาหารรุนแรง
3.8 นิ่วในปัสสาวะ (Calculi)
ภาวะที่มีก้อนนิ่วปนออกมากับน้ำปัสสาวะเนื่องจากมี
การตกตะกอนของเกลือแร่ในร่างกาย
3.3 โปรตีนในปัสสาวะ (Proteinuria หรือ Albuminuria)
ตรวจพบตั้งแต่ 1+
ขึ้นไป
ภาวะที่มีโปรตีนหรือ
แอลบูมิน ในปัสสาวะมากกว่า 150 มิลลิกรัมต่อวัน
ปกติปัสสาวะจะไม่มีโปรตีนอยู่
นทางปฏิบัติอนุโลมใช้การตรวจโปรตีนในปัสสาวะ
ในเชิงกึ่งปริมาณวิเคราะห์ โดยใช้แผ่นทดสอบเทียบสี (Urine dipstick for protein)
ถ้ามีโปรตีนในน้ำปัสสาวะแสดงถึงภาวะไตเป็นโรค ทำ
ให้การกรองของกรวยไตไม่ดี ซึ่งอาจเกิดจากกรวยไตอักเสบ (Glomerulonephritis)
3.7 ปัสสาวะเป็นหนอง (Pyuria)
อาจพบมีแบคทีเรียร่วมด้วย
เห็นปัสสาวะเป็นตะกอนสีขาวคล้ายน้ำนม
ภาวะปัสสาวะที่มีเซลล์หนอง เม็ดเลือดขาวในน้ำ
ปัสสาวะบางครั้ง
พบในผู้ป่วย
ที่มีการอักเสบติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
3.2 น้ำตาลในปัสสาวะ (Glycosuria)
จะพบในผู้ป่วยเบาหวาน
เนื่องจากน้ำตาล ที่ Filtrate ผ่าน Glomerulus ทั้งหมดจะมีการ
Reabsorb กลับที่ Proximal tubules
ภาวะที่มีน้ำตาลปนออกมาในน้ำปัสสาวะ
น้ำตาลในกระแสเลือดสูงเกินกว่า Renal threshold (160-
180 mg/dL) ไตจะดูดกลับได้แล้วจะพบน้ำตาลปนออกมาในน้ำปัสสาวะ
3.6 ปัสสาวะมีสีดำของฮีโมโกลบิน (Hemoglobinuria)
อาจเกิดจากการได้รับ
เลือดผิดกลุ่ม ติดเชื้อ ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก เม็ดเลือดแดงอายุสั้นกว่าปกติ
เช่น คนที่ขาดเอ็นไซม์ G6PD จะมีปัสสาวะสีโค้กหรือน้ำปลา
ภาวะที่มีการสลายตัวของ
เม็ดเลือดแดงทำให้เกิด Oxyhemoglobin หรือ Methemoglobin ในปัสสาวะ
3.1 ปัสสาวะเป็นเลือด (Hematuria)
ภาวะที่มีเม็ดเลือดแดงปนออกมาในน้ำปัสสาวะ
ทำให้ปัสสาวะเป็นสีแดง
อาจเห็นชัดเป็นเลือดสดๆ
ดูจากกล้องจุลทรรศน์พบเม็ดเลือดแดง มากกว่า 3 ตัวต่อ 1 ช่องง (RBC>3cells/HPF)
มักมีสาเหตุ ไต ท่อไต กรวยไต
กระเพาะปัสสาวะ ต่อมลูกหมาก และท่อปัสสาวะ
3.9 ไขมันในปัสสาวะ (Chyluria)
ภาวะปัสสาวะที่มีไขมันออกมาในน้ำปัสสาวะทำให้
เห็นปัสสาวะเป็นสีขาวขุ่น
แยกสีขาวขุ่นจากหนองโดยการใส่อีเธอร์ลงในปัสสาวะ
ใสเป็นขุ่น คือ แสดงว่าเป็นไขมัน
ถ้าขุ่นเหมือนเดิม อาจแสดงว่ามีแบคทีเรีย
9.4 หลักการส่งเสริมสุขภาพในระบบทางเดินปัสสาวะ
2 ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
2) ฝึกถ่ายปัสสาวะบ่อยๆ ทุก 2-4 ชั่วโมง
ดื่มน้ำ 2 แก้วก่อนและหลังมีเพศสัมพันธ์ปัสสาวะทิ้งทันทีหลังจากมีเพศสัมพันธ์
1) ดื่มน้ำ อย่างน้อยวันละ 8 แก้ว (แก้วละ 240 มิลลิลิตร)
4) อาบน้ำด้วยฝักบัวแทนอาบในอ่างอาบน้ำ
5) ใส่ชุดชั้นในที่ทำด้วยผ้าฝ้ายดีกว่าทำด้วยไนล่อน
8) ใช้ Estrogen cream ตามแผนการรักษาของแพทย์
6) หลีกเลี่ยงการใส่กางเกงที่แน่นหรือคับเกินไป
7) เพิ่มความเป็นกรดของปัสสาวะ
3 ส่งเสริมให้กล้ามเนื้อทำงานอย่างเต็มที่
ถ้ากล้ามเนื้อภายในอุ้งเชิงกรานและช่องคลอดหย่อน
สมรรถภาพ จะทำให้ปัสสาวะไม่ออกและกลั้นปัสสาวะไม่ได้
กระตุ้นให้บริหารร่างกายอย่างสม่ำเสมอ
จะช่วยป้องกันกล้ามเนื้อหย่อนสมรรถภาพได้
4 การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีปัสสาวะไม่ออก
3) การเปิดก๊อกน้ำให้ได้หรือได้ยินเสียงน้ำไหลจะช่วยในด้านองค์ประกอบทางอารมณ์
4) การใช้ความร้อนช่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ
2) ช่วยให้ผู้ป่วยได้ถ่ายปัสสาวะในท่าที่สะดวกเป็นธรรมชาติ
5) ให้เวลาในการขับถ่ายปัสสาวะ ไม่เร่งรัดผู้ป่วยเกินไป
1) จัดให้ผู้ป่วยอยู่คนเดียวในที่มิดชิดขณะถ่ายปัสสาวะ
6) ช่วยกดหน้าท้องเบาๆ เหนือบริเวณกระเพาะปัสสาวะจะช่วยให้ปัสสาวะสะดวก
5 สอนให้นวดกระเพาะปัสสาวะ
การนวดกระเพาะปัสสาวะเป็นเทคนิคที่ช่วยทำให้กระเพาะ
ปัสสาวะว่าง
ผู้ป่วยที่มีความบกพร่องที่ระบบประสาทควบคุมการถ่ายปัสสาวะ
จน ทำให้มีปัสสาวะจำนวน คั่งอยู่ในกระเพาะปัสสาวะแต่ถ่ายไม่ออก
7 การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีที่ไม่สามารถไปห้องน้ำได้
พยาบาลอาจ
ต้องนำหม้อนอน (Bedpan) ในกรณีที่ผู้ป่วยเป็นผู้หญิง หรือ กระบอกปัสสาวะ (Urinal)
ในกรณีที่ผู้ป่วย
เป็นผู้ชายมาให้ผู้ป่วยที่เตียง
6 เสริมสร้างนิสัยของการถ่ายปัสสาวะ
เป็นวิธีที่ใช้สำหรับผู้ป่วยที่มีความบกพร่องเกี่ยวกับ
ความรู้ความเข้าใจในช่วงเวลาถ่ายปัสสาวะที่ยาวนานเป็นผลให้เกิดการกลั้นปัสสาวะ
วิธีการคือ
ใช้วิธีกระตุ้นให้ผู้ป่วยไปปัสสาวะ ชมเชย และให้กำลังใจ
1 ส่งเสริมให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
กรณีผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจวายหรือไตวาย จะต้องจำกัดน้ำ
ให้น้อยลง เพื่อป้องกันภาวะน้ำเกินและภาวะบวม
ผู้ใหญ่ควรได้รับน้ำสะอาด อย่างน้อยวันละ
6-8 แก้ว หรือประมาณ 1,500-2,000 มิลลิลิตร
ปัสสาวะจำนวนที่มากพอจะช่วยกระตุ้นกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะให้ทำงาน
ป้องกันการ
ลีบเล็ก (Atrophy) ของกระเพาะปัสสาวะได้
✨🚑🏢🏥
จัดทำโดย 🌈👩⚕️🐱🌾นางสาวพลินี จำปา 19A 6201210378