Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 บัญชียาหลักแห่งชาติยาสามัญประจำบ้าน, 91827c0d6aae11e6b74874b05de5…
บทที่ 10 บัญชียาหลักแห่งชาติยาสามัญประจำบ้าน
เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกยา
1.ระบบการคัดเลือกยาต้องเป็นไปตามความจาเป็นในการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพของประเทศไทยเป็นหลัก
ระบบการคัดเลือกต้องแสดงข้อมูลเชิงประจักษ์ที่ละเอียดพอ เอื้อให้เกิดการใช้ข้อมูลครบถ้วนในการตัดสินใจ
3.การคัดเลือกและแสดงรายการยา ให้ใช้ชื่อสามัญของยา รูปแบบยา ความแรง ขนาดบรรจุ ยกเว้นในกรณีที่ไม่ระบุจึงใช้ความแรงและขนาดบรรจุอื่นได้
ต้องคำนึงถึงข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพยา เช่น รูปแบบยา การเก็บรักษา ความคงตัวของยา ขนาดบรรจุ วันหมดอายุ เป็นต้น
5.ต้องคานึงถึงข้อมูลเชิงเศรษฐศาสตร์ด้านค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น ราคายา ความสามารถในการจ่ายทั้งของ ระบบประกันสุขภาพต่างๆ สังคมและประชาชน
ในกรณีที่ยามีคุณสมบัติครบตามเกณฑ์การพิจารณา แต่ไม่มีการขึ้นทะเบียนตารับยา หรือไม่มีจาหน่ายในประเทศ ให้กาหนดรายการยาดังกล่าวไว้ในบัญชียาหลักแห่งชาติ และเสนอเป็นยากาพร้า
กรณียาที่อยู่ระหว่างการติดตามความปลอดภัย
8.ควรเป็นยาเดี่ยว หากจาเป็นต้องเป็นยาผสมจะต้องมีข้อมูลที่เชื่อถือได้ที่แสดงว่ายาผสมมีข้อดีกว่าหรือ เท่าเทียมกับยาเดี่ยวในด้านความปลอดภัย ประโยชน์และค่าใช้จ่าย
บัญชียาหลักแห่งชาติ
“บัญชียาสาหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข” หมายความว่า รายการยาแผนปัจจุบันสาหรับใช้ในโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข
“บัญชียาจากสมุนไพร” หมายความว่า รายการยาจากสมุนไพรที่เป็นยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ และยาพัฒนาจากสมุนไพร ซึ่งมีตัวยาในสูตรตารับ
การแสดงชื่อสามัญทางยา (Generic name) (Generic name) (Generic name) และรูปแบบยา
ยาส่วนใหญ่จะแสดงด้วยชื่อสามัญทางยา
ยาทุกรายการหมายถึงยาที่มีสารออกฤทธิ์ 1ชนิดที่มีรูปแบบยาตามที่ระบุไว้เท่านั้น เว้นแต่ยาสูตรผสมจะแสดงชื่อสามัญทางยาของสารออกฤทธิ์ในสูตรยารายการนั้นทั้งหมด
ในกรณีเป็นเภสัชตารับโรงพยาบาลจะระบุอักษร hosp
การจาแนกตามกฎหมาย
1.ยาแผนปัจจุบัน หมายถึง ยาที่มุ่งหมายสาหรับใช้ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมการประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบัน หรือการบาบัดโรคสัตว์
ยาแผนโบราณ หมายถึง ยาที่ใช้ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณหรือในการบาบัดโรคของสัตว์ ซึ่งมีปรากฏอยู่ในตารายาแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศ หรือยาที่รัฐมนตรีประกาศให้เป็นยาแผนโบราณ หรือได้รับอนุญาตให้ขึ้นทะเบียนตารับยาเป็นแผนโบราณ
ยาอันตราย คือ ยาแผนปัจจุบันที่มีอันตรายสูงกว่ายาสามัญประจาบ้านการใช้ยานี้จึงต้องผ่านการดูแลจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เช่น แพทย์ หรือเภสัชกร ยาในกลุ่มนี้จะมีคาว่า “ยาอันตราย” ระบุไว้บนฉลากข้างภาชนะบรรจุ และจาหน่ายได้เฉพาะในร้านขายยาแผนปัจจุบันที่มีเภสัชกรแผนปัจจุบันทาหน้าที่ควบคุมดูแล หรือจาหน่ายได้ในโรงพยาบาล
ยาสามัญประจาบ้าน คือ ยาที่กระทรวงสาธารณสุขคัดเลือกไว้ให้ประชาชนสามารถเลือกใช้ได้เอง โดยไม่ต้องผ่านการควบคุมดูแลจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เนื่องจากยาในกลุ่มนี้สามารถหาซื้อได้โดยทั่วไป ยาสามัญประจาบ้าน
ยาแผนปัจจุบันบรรจุเสร็จที่มิใช่ยาอันตราย คือ ยาแผนปัจจุบันที่กระทรวงสาธารณสุขมิได้จัดให้เป็นยาสามัญประจาบ้าน ยาควบคุมพิเศษ วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท หรือยาเสพติดเนื่องจากเห็นว่าเป็นยาที่ค่อนข้างมีความปลอดภัย
วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทและยาเสพติดคือ ยาแผนปัจจุบันที่ก่อให้เกิดการเสพติดได้ง่าย และมีผลเปลี่ยนแปลงสภาพทางจิตประสาทของผู้เสพ และมักจะมีผลกระทบโดยตรงต่อสังคมรอบข้าง แพทย์แผนปัจจุบันเท่านั้น
เงื่อนไขการสั่งใช้ยา
หากยารายการใดมีหลายข้อบ่งใช้ แต่มีความเหมาะสมที่จะใช้เพียงบางข้อบ่งใช้ หรือมีแนวโน้มว่าจะมีการสั่งใช้ไม่ถูกต้อง จะระบุข้อบ่งใช้ไว้ในเงื่อนไขการสั่งใช้ยา เพื่อเป็นแนวทางสั่งใช้ยาสาหรับแพทย์
คำอธิบายรายการยาในบัญชียาสาหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุขตามบัญชียาหลักแห่งชาติ
รายละเอียดของรายการยาประกอบด้วย ชื่อสามัญของยา รูปแบบของยา บัญชีย่อย นอกจากนี้ยังอาจมี ความแรง ขนาดบรรจุยา เงื่อนไข (การสั่งใช้ยาหรือการเลือกยาเข้าบัญชียาของโรงพยาบาล)
การจัดประเภทรายการยา
บัญชี ก. คือ รายการยามาตรฐานที่ใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย มีหลักฐานชัดเจนที่สนับสนุนการใช้ มีประสบการณ์การใช้ในประเทศไทยอย่างพอเพียงและเป็นยาที่ควรได้รับการเลือกใช้เป็นอันดับแรก
บัญชี ข. คือ รายการยาที่ใช้สาหรับข้อบ่งใช้หรือโรคบางชนิดที่ใช้ยาในบัญชี กไม่ได้ หรือไม่ได้ผล หรือใช้เป็นยาแทนยาในบัญชี ก ตามความจาเป็น
บัญชี ค หมายความว่า รายการยาที่ต้องใช้ในโรคเฉพาะทางโดยผู้ชานาญ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้อานวยการของสถานพยาบาลนั้นๆ
บัญชี ง. หมายถึง รายการยาที่มีหลายข้อบ่งใช้ แต่มีความเหมาะสมที่จะใช้เพียงบางข้อบ่งใช้ มีแนวโน้มจะมีการสั่งใช้ยาไม่ถูกต้องเป็นยาที่มีราคาแพง
ญชี จ.
• บัญชี จ(๑)รายการยาสาหรับโครงการพิเศษของกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานของรัฐที่มีการกาหนดวิธีการใช้และการติดตามประเมินการใช้ยาตามโครงการ
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาที่ใช้รักษา บรรเทา หรือป้องกันอาการบาดเจ็บหรือความเจ็บป่วยในเบื้องต้น เช่น ปวดศีรษะ ปวดท้อง ท้องเสีย ท้องผูก อาเจียน น้ำมูกไหล เมารถ เมาเรือ เป็นต้น
ยาลดกรดอะลูมินาแมกนีเซีย ชนิดเม็ด ช่วยบรรเทาอาการแสบร้อนกลางอก ลดกรดในกระเพาะอาหาร ท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่นท้อง อาหารไม่ย่อย ภาวะกรดไหลย้อน รับประทานก่อนอาหารครึ่งชั่วโมงหรือหลังอาหาร 1 ชั่วโมง
ยาแก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ โซดามินท์ ชนิดเม็ด ช่วยลดกรดในกระเพาะอาหาร บรรเทาอาการแสบร้อนกลางอก จุกเสียด อาหารไม่ย่อย รับประทานหลังอาหาร 1 ชั่วโมง หรือเมื่อมีอาการ
ตัวยาสำคัญในสูตรตำรับ 1 เม็ด
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาธาตุน้ำแดง ช่วยบรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ขับลมในกระเพาะอาหาร รับประทานก่อนอาหารวันละ 3 ครั้ง และควรเขย่าขวดทุกครั้งก่อนใช้ยา
ยาระบายกลีเซอรีน ชนิดเหน็บทวาร ช่วยบรรเทาอาการท้องผูก กระตุ้นการขับถ่าย ใช้ได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่
ยาระบายมะขามแขก ชนิดเม็ด ช่วยบรรเทาอาการท้องผูก กระตุ้นการขับถ่าย ใช้รับประทานก่อนเข้านอนหรือหลังตื่นนอนตอนเช้า
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาถ่ายพยาธิตัวกลม มีเบนดาโซล ช่วยถ่ายพยาธิได้หลายชนิด เช่น พยาธิเส้นด้าย พยาธิเข็มหมุด พยาธิปากขอ พยาธิไส้เดือน
แอสไพริน ช่วยบรรเทาอาการปวด ลดไข้ โดยรับประทานหลังอาหารทันที หรือรับประทานทุก 4-6 ชั่วโมงเมื่อมีอาการแล้วดื่มน้ำตามมาก ๆ ควรปรึกษาแพทย์ก่อนการใช้ยาในเด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี เพราะอาจทำให้เกิดผลข้างเคียงได้
ยาแก้แพ้ ลดน้ำมูกคลอร์เฟนิรามีน ช่วยบรรเทาอาการจากหวัด จาม น้ำมูกไหล อาการคัน ลมพิษ ภูมิแพ้ โดยรับประทานทุก 4-6 ชั่วโมงเมื่อมีอาการ
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาแก้ไอ สำหรับเด็ก ช่วยบรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ รับประทานวันละ 3-4 ครั้ง และเขย่าขวดทุกครั้งก่อนการใช้ยา
ยาแก้ไอน้ำดำ ช่วยบรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ รับประทานวันละ 3-4 ครั้ง และเขย่าขวดทุกครั้งก่อนการใช้ยา
ยาแก้เมารถเมาเรือ ไดเมนไฮดริเนท ชนิดเม็ด ช่วยบรรเทาและป้องกันอาการวิงเวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน หรือภาวะป่วยที่อาจเกิดจากการเดินทาง เช่น เมารถ หรือเมาเรือ