Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีในระยะคลอด (Intrapartum) - Coggle Diagram
การพยาบาลสตรีในระยะคลอด (Intrapartum)
ความหมายของการคลอด
ปรากฏการณ์ตามธรรมชาติที่มดลูกของสตรีตั้งครรภ์มีการหดรัดตัวเพื่อขับทารกรกเยื่อหุ้มทารกจากมดลูกออกทางช่องคลอดสู่ภายนอก
อาการนำเข้าสู่ระยะคลอด
ท้องลด
ช่องอกกว้างขึ้น ท าให้สตรีตั้งครรภ์หายใจสะดวกขึ้น
สตรีตั้งครรภ์เป็นตะคริว เหน็บชาที่เท้า
ความดันในช่องเชิงกรานเพิ่มขึ้น
ปัสสาวะบ่อย
สตรีตั้งครรภ์ทำกิจกรรมเพิ่มขึ้น
ปากมดลูกมีความนุ่ม สั้น และบางลง
มีมูก (mucous show) ออกทางช่องคลอด
ปวดหลังและบั้นเอว จากอิทธิพลของฮอร์โมนรีแลกซิน (relaxin) ที่เพิ่มขึ้น
ถุงน้ าคร่ำแตก
การหดรัดตัวของมดลูก
ดิวเรชั่น
ระยะเวลาในการหดรัดตัวของมดลูกแต่ละครั้ง
อินเทอวอล
ระยะเวลาที่มดลูกเริ่มหดรัดตัวจนกระทั่งหดรัดตัวในครั้งต่อไป
อินเทนซิตี้
ความแรงในการหดรัดตัวของมดลูกที่เริ่มต้นเมื่อหดรัดตัวจนถึงหดรัดตัวสูงสุด
การเจ็บครรภ์เตือน
การหดรัดตัวไม่สม่ำเสมอ
ความถี่ของการหดรัดตัวไม่เปลี่ยนแปลง
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงของ duration & intensity
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก
การเจ็บครรภ์จริง
มดลูกหดรัดตัวสม่ำเสมอ
ความถี่ของการหดรัดตัวเพิ่มขึ้น ทั้ง duration & intensity
มีการขยายตัวและบางของปากมดลูกเพิ่มขึ้น
นำไปสู่การคลอด
ความรุนแรงของการหดรัดตัวเพิ่มขึ้นเมื่อเดิน
หดรัดตัวอย่างน ้อย 1 ครั้งใน 20 นาทีโดยหดรัดตัวสม ่าเสมอ มีความถี่ ระยะเวลาที่หดรัดตัวแต่ละครั้ง และความแรงมากขึ้น
การคลอดปกติ
เป็นการขับทารก รก น้ำคร่ำ และเยื่อหุ้มทารกออกทางช่องคลอด
อายุครรภ์ครบกำหนด 37-42 สัปดาห์
ขณะคลอดมีส่วนนำคือท้ายทอยอยู่ด้านหน้าช่องเชิงกราน
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้น
ใช้เวลาไม่เกิน24 ชั่วโมง
การคลอดผิดปกติ
vacuum extraction
forceps extraction
cesarean section
มีภาวะตกเลือดในระยะคลอด คลอดก่อนก าหนด
ระยะของการคลอด
ระยะที่ 1 ของการคลอดหรือระยะปากมดลูกเปิด
ระยะปากมดลูกเปิดช้า(latent phase)
ครรภ์แรกใช้เวลาเฉลี่ยระยะปากมดลูกเปิดช้าประมาณ 8.6ชั่วโมง แต่ไม่เกิน 20ชั่วโมง ส่วนครรภ์หลังใช้เวลาเฉลี่ย 5.3ชั่วโมง แต่ไม่เกิน 14ชั่วโมง
ระยะปากมดลูกเปิดเร็ว(active phase)
ครรภ์แรกการเปิดขยายของปากมดลูกใช้เวลา1.2 ซม.ต่อชั่วโมง และ 1.5 ซม.ต่อชั่วโมงในครรภ์หลัง
ระยะที่ 2 ของการคลอด หรือระยะเบ่ง
ครรภ์แรกใช้เวลา 1-2 ชั่วโมง ไม่ควรเกิน 2ชั่วโมง ส่วนครรภ์หลังใช้เวลา 30-60 นาทีไม่ควรเกิน 1 ชั่วโมง
ระยะที่ 3 ของการคลอดหรือระยะรกคลอด
งแต่ทารกคลอดจนรกคลอดครบ เริ่มหลังจากทารกคลอดจนกระทั่งรกคลอด ใช้เวลาไม่เกิน 30 นาทีทั้งครรภ์แรกและครรภ์หลัง
ระยะที่ 4ของการคลอด
ตั้งแต่รกคลอดจนถึง 2 ชั่วโมงหลังคลอด
องค์ประกอบส่งเสริมที่ท าให้เจ็บครรภ์
การลดลงของปริมาณน้ำคร่ำ
การเปลี่ยนแปลงของมดลูก
การเสื่อมของรก
มดลูกยืดขยายเต็มที่
ปัจจัยชักนาให้เกิดการคลอด
โครงสร้างการทำงานของระบบประสาท
ภาวะโภชนาการ
ฮอร์โมน
ออกซีโตซิน
เอสโตรเจน
การลดลงของโปรเจสเตอโรน
คอร์ติซอลหรือฮอร์โมนควบคุมจากทารก
พรอสตาแกรนดิน
รีแลกซิน
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการคลอด5 P
สิ่งที่คลอดออกมา(passenger)
ทารก
แนว
ตรง
ขวาง
เฉียง
ทรง
ขนาดของศีรษะและความยืดหยุ่นของกระดูกศีรษะ
กระดูกพาริทัล2ชิ้น
เทมพอรัล2ชิ้น
ฟรอนทอล1ชิ้น
ออกซิพิทอล1ชิ้น
ส่วนนำ
ระดับของส่วนนำ
ยื่อหุ้มทารก
น้ำคร่ำ
รก
แรงผลักดันจากการบีบตัวของมดลูกและแรงเบ่งจากแม่ (power)
แรงจากการบีบตัวหรือการหดรัดตัวของมดลูก
แรงเบ่งของแม่โดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องและกระบังลม
ช่องทางคลอด(passage)
ปัจจัยด้านจิตสังคม(psychological
การได้รับการเตรียมเพื่อการคลอด
ประสบการณ์เกี่ยวกับการคลอด
การได้รับการดูแลในระยะคลอด
สภาวะของอารมณ์
ปัจจัยทางสังคมวัฒนธรรม
ท่า (position)
OA
OP
LOA
ROA
LOP
ROP
กลไกการคลอดทารก
ส่วนนำเข้าสู้อุ้งเชิงกราน(engagement)
ทารกเอาส่วนที่กว้างที่สุดของส่วนนำเคลื่อนผ่านช่องทางเข้าของเชิงกราน
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำ(descent)
แรงดันจากน้ าคร่ า (hydrostatic pressure)
แรงที่กดบนส่วนยอดมดลูกโดยตรงต่อก้นทารกและการเหยียดของล าตัวทารก
แรงจากการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้องเกิดขึ้นในระยะที่2 ของการคลอด
การก้มของศีรษะทารก(flexion)
เมื่อศีรษะทารกเคลื่อนมาปะทะกับแรงต้านของเชิงกราน จะเป็นการบังคับให้ทารกก้มหน้า คางชิดหน้าอก
องค์ประกอบที่ทำให้เกิดการก้มของศีรษะทารก
แรงผลักดันจากยอดมดลูกที่พุ่งตรงมาตามแนวกระดูกสันหลังของทารก
ลักษณะของช่องเชิงกราน
แรงบีบจากผนังทางคลอดโดยรอบศีรษะ
แรงต้านทานเสียดสีของทางคลอดที่ขวางทางการเคลื่อนผ่านของทารกผ
การหมุนภายในเชิงกราน (internal rotation)
เป็นการหมุนของศีรษะทารกที่เกิดขึ้นภายในช่องเชิงกราน เพื่อให้เหมาะกับช่องออกของเชิงกราน
การเงยของศีรษะ(extension)
การเงยของศีรษะทารกผ่านพ้นช่องทางคลอดออกมาภายนอก
การสะบัดของศีรษะ(restitution)
การหมุนของศีรษะภายนอกช่องทางคลอด
เพื่อคลายเกลียวที่บิดอยู่กับไหล่ที่อยู่ภายในช่องคลอดประมาณ 45 องศา
การหมุนภายนอก(external rotation)
การสะบัดกลับอีก45 องศาเพื่อให้สัมพันธ์กับไหล่
รก
อาการที่บ่งบอกว่ารกลอกตัว
valva sign มีเลือดทะลักออกทางช่องคลอดทันทีทันใด ประมาณ 50 มล
uterine sign มดลูกเปลี่ยนเป็นก้อนกลมแข็ง ลอยตัวสูงขึ้น
cord signสายสะดือเคลื่อนต่ าจากปากช่องคลอดเพิ่มขึ้น
กลไกการคลอดของรก
รกลอกตัวแบบซูสท์
รกเริ่มลอกตัวที่บริเวณตรงกลางรกก่อน
รกลอกตัวแบบดันแคน
รกเริ่มลอกตัวที่บริเวณขอบรกด้านใดด้านหนึ่งก่อนแล้วแผ่ขยายมาตรงกลาง
วิธีการช่วยคลอดรก
วิธีโมดิฟาย เครเด่
อาศัยมดลูกส่วนบนที่หดตัวแข็งดันเอารกที่อยู่ส่วนล่างของทางคลอดออกม
วิธีแบรนท์ แอนดริวส์
อาศัยมือกดไล่รกออกมาโดยตรง โดยใช้มือข้างที่ถนัดกดที่บริเวณท้องน้อยเหนือกระดูกหัวเหน่าดันลงล่าง
วิธีการดึงสายสะดือแบบควบคุม
คลึงมดลูกให้หดรัดตัวดีและผลักยอดมดลูกให้มาอยู่ตรงกลางหน้าท้อง
การประเมินสภาพรก
ตรวจสายสะดือ
ตรวจต าแหน่งของสายสะดือ
ขนาด ความยาวและปมต่างๆ
เส้นเลือดในสายสะดือ
vein 1 เส้น artery2 เส้น
ตรวจเยื่อหุ้มรก
ดูรอยแตกของถุงเยื่อหุ้มทารก ปกติจะห่างจากรกไม่น้อยกว่า 7 เซนติเมตร
ดูสัดส่วนของเยื่อหุ้มทารกทั้งสองชั้น คือ amnion, chorion
ดูขนาดของถุงเยื่อหุ้มทารก
ตรวจรกด้านลูก
ตรวจchorionic plate ซึ่งจะเห็นเยื่อหุ้มทารกชั้นamniomคลุม
สังเกตสีของamnionที่คลุมอยู่บน chorionic plate
ดูเส้นเลือดของสายสะดือที่กระจายแผ่จากที่เกาะของสายสะดือบน chorionic plate
Closing Ring of Wrinkle-Waldeyer จะเห็นเป็นวงขาวโดยรอบรก
ดูsubchorionic infarct, subchorionic cyst
ตรวจดูการติดของเยื่อหุ้มทารกชั้นchorion
ตรวจรกด้านแม่
ดูผิวcotyledon จะพบว่ามีร่องหรือ placental sulcus แบ่งรกด้านแม่ออกเป็นก้อนๆ
ตรวจดูinfarctและ calcification
ตรวจดู marginal sinusรอบขอบรก
ตรวจดูรอยบุ๋มบนผิวรกด้านแม่
ตรวจเยื่อหุ้มทารกชั้นchorion