Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Working Standards/Operation Standards มาตรฐานการทำงาน/มาตรฐานการดำเนินการ…
Working Standards/Operation Standards
มาตรฐานการทำงาน/มาตรฐานการดำเนินการ
ประโยชน์การจัดทำ Work Manual
ใช้ฝึกอบรมพนักงานใหม่
ประหยัดงบประมาณในการฝึกอบรม เนื่องจากหัวหน้างานใช้เป็นคู่มือในการสอน
ทำให้การกำหนดหน้าที่การงานชัดเจนไม่ซ้ำซ้อน
ใช้ในการควบคุมงานและการติดตามผลการปฏิบัติงานให้มีความผิดพลาดในการกระบวนการทำงานลดน้อยลง
เป็นคู่มือในการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Review) ของบุคลากร
ช่วยในการปรับปรุงงานและออกแบบกระบวนงานใหม่
ใช้เป็นฐานในการประกาศเวลามาตรฐานการดำเนินการ
การออกแบบกระบวนการ
ข้อกำหนดที่สำคัญ
องค์ความรู้
เทคโนโลยี
กฎระเบียบ กฎหมาย
ต้นทุน/ ค่าใช้จ่ายย
ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการ
องค์ประกอบคู่มือการปฏิบัติงาน
วัตถุประสงค์ของการจัดทำคู่มือ
คำจำกัดความ
Work Flow กระบวนการ
มาตรฐานงาน
เอกสารอ้างอิง
ขอบเขต
หน้าที่ความรับผิดชอบ
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ระบบติดตามประเมินผล
แบบฟอรม์ที่ใช้
วัตถุประสงค์การจัดทำWS/OS
หลักในการเพิ่มผลผลิต
ระดมความคิดเห็นเพื่อวิเคราะห์และปรับปรุงการทำงาน
จัดทำมาตรฐานงาน
จัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ
ขอบเขตหลัก Work Manual
Work Flow ของกระบวนการ
มาตรฐานงานคือข้อกำหนดในการปฏิบัติงาน
มาตรฐานระยะเวลา
มาตรฐานในเชิงคุณภาพ เช่น ความถูกต้อง ความสมบรูณ์ของข้อมูลความผิดพลาดความคุ้มค่าของงาน เป็นต้น
ระบบการติดตามประเมินผล
เพื่อใช้ติดตามผลการปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับมาตรฐานที่กำหนด
กำหนดรูปแบบและระยะเวลาในการติดตาม เช่น ทุก 3 เดือน หรือทุก 6 เดือน
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ผู้รับผิดชอบ
แบบฟอร์ม
เอกสาร/ระเบียบที่ใช้ประกอบการดำเนินการร
รายละเอียดวิธีการท างานของแต่ละขั้นตอนย่อย
คู่มือการปฏิบัติงาน(Work Manual)
มักจัดทำขึ้นสำหรับงานที่มีความซ้ำซ้อน มีหลายขั้นตอนและเกี่ยวข้องกับหลายคน
สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงาน
ระบุถึงขั้นตอนและรายละเอียดต่าง ๆ ของกระบวนการ
เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานไว้ใช้อ้างอิง ไม่ให้เกิดความผิดพลาดในการทำงาน
แผนที่บอกเส้นทางการทำงานที่มีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของกระบวนการ
ลักษณะที่ดีของคู่มือการปฏิบัติงาน
กระชับ ชัดเจน เข้าใจได้ง่าย
เป็นประโยชน์สำหรับการทำงานและฝึกอบรม
เหมาะสมกับองค์กรและผู้ใช้งานแต่ละกลุ่ม
มีความน่าสนใจ น่าติดตาม
มีความเป็นปัจจุบัน (Update) ไม่ล้าสมัย
แสดงหน่วยงานที่จัดทำวันที่บังคับใช้
มีตัวอย่างประกอบ
คุณสมบัติและทักษะของผู้จัดทำเอกสารการปฏิบัติงาน
คุณสมบัติ
มีความรู้ความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานเรื่องนั้นๆ
เป็นคนช่างสังเกต
เอาใจใส่ในรายละเอียดของการปฏิบัติงาน
รู้ทฤษฎีและความรู้พื้นฐานของการวิเคราะห์ระบบงาน
รู้หลักการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ
รู้เทคโนโลยีสมัยใหม่
ทักษะ
ทักษะการวิเคราะห์(Analysis Skills)
ทักษะการสื่อสาร(Communication Skills)
ทักษะออกแบบ(Design Skills)
ทักษะการประเมินผล (Evaluation Skills)
ประโยชน์ของเอกสารวิธีปฏิบัติงาน
ผู้ปฏิบัติงานทราบรายละเอียดและทำงานได้อย่างถูกต้อง
ทราบถึงเทคนิควิธีการทำงาน
ทราบถึงตำแหน่งงานที่รับผิดชอบ