Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2ลักษณะเฉพาะทางพฤกศาสตร์ - Coggle Diagram
บทที่2ลักษณะเฉพาะทางพฤกศาสตร์
การปรุงยาจากพืชสมุนไพร
วิธีการปรุงยาตามแบบแผนโบราณมี 23-24 วิธี
กระทรวงฯ ได้ประกาศเพิ่มเป็น 28 วิธี
ยากลั่นเอาน้ำเหงื่อ เช่น กลั่นสุรา เอาน้ำเหงื่อกิน
ยาประสมแล้ว ตำเป็นผงกวนให้ละเอียด ใส่กล้องเป่าทางจมูกและคอ
ยาประสมแล้ว ต้มเอาน้ำแช่
ยาประสมแล้ว ต้มเอาน้ำชะ
ยาประสมแล้ว ต้มแล้วเอาน้ำอาบ
ยาประสมแล้ว ต้มเอาน้ำสวน
ยาประสมแล้ว ต้มเอาน้ำบ้วนปาก
ยาตำเป็นผงแล้ว บดให้ละเอียด ละลายน้ำกระสายกิน
ยาหุงด้วยน้ำมัน เอาน้ำมันใส่กล้องเป่าบาดแผล
ยาเผาหรือเผาให้ไหม้ ตำเป็นผงบดให้ละเอียด
4.ยาเผาให้เป็นด่าง เอาด่างนั้นแช่น้ำไว้ แล้วรินแต่น้ำกิน
ยาประสมแล้ว มวนบุหรี่สูบเอาควัน
ยาประสมแล้ว ทำเป็นยาพอก
ยาประสมแล้ว ใช้เป็นยาทา
3.ยากัดด้วยเหล้าแล้วรินน้ำดื่ม
ยาประสมแล้ว ใช้เป็นลูกประคบ
ยาประสมแล้ว บดเป็นผงปั้นเป็นแท่งใช้เหน็บ
2.ยาดองแช่ในน้ำท่าหรือสุราแล้วรินแต่น้ำดื่ม
1.สับตัวยาเป็นท่อนใส่ลงหม้อเติมน้ำต้มแล้วรินน้ำดื่ม
ยาประสมบดละเอียดเป็นผงแล้วปั้นเป็นเม็ดกลืนลงคอ
ยาประสมแล้ว ต้มเอาไอรมหรืออบ
ยาประสมแล้ว เผาไฟหรือโรยบนถ่านไฟ ใช้ควันรม
ยาประสมแล้ว บดเป็นผง ตอกอัดเม็ด
ยาประสมแล้ว บดเป็นผง ปั้นเม็ดแล้วเคลือบ
ยาประสมแล้ว ใส่กล้องติดไฟใช้ควันเป่าบาดแผล
ยาประสมแล้ว ห่อผ้าบรรจุลงในกลักเอาไว้ใช้ดม
ยาประสมแล้ว ทำเป็นเม็ดแคปซูล
ยาประสมแล้ว กวนเป็นยาขี้ผึ้งปิดแผล ซึ่งเรียกว่ายากวน
การแปรรูปพืชสมุนไพร
การตากแห้ง
เก็บรักษาสมุนไพรให้ได้ประสิทธิภาพที่ดีทีสุด ทั้งคุณภาพ ปริมาณและน้ำหนัก
การให้มีขนาดเล็กลง
นำเอาสมุนไพรมาทำให้ขนาดเล็กลง และนำไปตากแห้งเพื่อให้ปริมาณน้ำลดลง
นิยมใช้กับ ราก เปลือก
การบดปั่นให้เป็นผง
เป็นวิธีที่สะดวกนิยมนำมาตากแห้งและใช้ครกบดให้ละเอียด
การสกัดน้ำมันหอมระเหย
นำสมุนไพรกลิ่นหอมมาต้มสกัดมาเป็นยาดมยาหอมาทา
การเก็บรักษาสมุนไพร
ภาชนะในการจัดเก็บ
ป้องกันความชื้นได้
ป้องกันเชื้อรา
สถานที่ในการจัดเก็บ
ป้องกันแมลงและโรค
ไม่เป็นแหล่งเพาะเชื้อ
อากาศปลอดโปร่ง
ไม่โดนแสงแดดจัด
พื้นที่แห้งและเย็น
เตรียมยาสมุนไพร
ยาปั้นลูกกลอน
การเตรียม
หั่นสมุนไพรสดให้เป็นแว่นบางๆ
ผึ่งแดดให้แห้ง
บดเป็นผงในขณะที่ยายังร้อนแดดอยู่ เพราะยาจะกรอบบดได้ง่าย
การปั้นยา
ผงยาสมุนไพร ๒ ส่วน ผสมกับน้ำผึ้ง หรือน้ำเชื่อม ๑ ส่วน
ทิ้งไว้ ๒-๓ ชั่วโมง เพื่อให้ยาปั้นได้ง่าย
ปั้นยาเป็น ลูกกลมๆ เล็กๆ
ยาต้ม
การต้ม
เทน้ำลงไปพอให้น้ำท่วมยาเล็กน้อย
ต้มให้เดือดนาน ๑๐-๓๐ นาที แล้วแต่ว่าต้องการให้น้ำยาเข้มข้น หรือเจือจาง
กินในขณะที่ยายังอุ่นๆ
การเตรียม
เอาสมุนไพรมาขดมัดรวมกันเป็นท่อนกลม
ยาดอง
การเตรียม
ใช้สมุนไพรแห้งดอง บดต้นไม้ยาให้แตกพอหยาบๆห่อด้วยผ้าขาวบางหลวม ๆ
การดอง
เติมเหล้าโรงให้ท่วมห่อยา ตั้งทิ้งไว้ ๗ วัน
อายุของยาสมุนไพร
ยาผง3-6 เดือน
ยาปั้นเป็นลูกกลอน เป็นเม็ด เป็นแท่ง6-8 เดือน เริ่มเสื่อมคุณภาพ
ยาน้ำ น้ำต้ม และยาดองมีอายุ 7-10 วัน
ข้อควรระวัง ในการใช้ยาสมุนไพร
1.ศึกษาให้ดีก่อนใช้เช่นพิษของสมุนไพร
2.เริ่มกินทีละน้อยหากไม่เคยกินสมุนไพรให้ลองดูก่อนแล้วสังเกตอาการ
3.ห้ามใช้ยามากเกินไปในคนที่อ่อนเพลีย เด็ก คนชราเพราะมีภูมิต้านทานยาต่ำ
4.หมั่นตรวจสอบสรรพคุณหากทาน1วันอาการไม่ดีขึ้นควรปรึกษาแพทย์หรือเปลี่ยนยา