Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ -…
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ
ลำดับชั้นของกฎหมาย
รองลงมา
พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด
รองลงมาอีก
พระราชกฤษฏีกา กฏกระทรวง ระเบียบข้อบังคับ
กฏหมายสูงสุด
รัฐธรรมนูญ
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ ศ 2545
9 หมวด + 1 บทเฉพาะกาล
ทั้งหมวด 70 มาตรา
เริ่มใช้ 12 พฤศจิกายน พ ศ 2545
นพ สงวน นิตยารัมภ์พงศ์
งานกับอุดมคติของชีวิต
การออกบัตรสงเคราะห์ให้กับผู้มีรายได้น้อย
ระบบบัตรสงเคราะห์
มาตรา 82
รัฐต้องจัดและส่งเสริมการสาธารณสุข
มาตรา 52
ผู้ยากไร้ย่อมมีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
คำนิยาม
บริการสาธารณสุข
บริการด้านการแพทย์และสาธารณสุข
คณะกรรมการ
คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน
หมวด 1 สิทธิการรับบริการสาธารณสุข
หมวด 2 คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
หมวด 3 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
หมวด 4 กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
หมวด 9 บทกำหนดโทษ
หมวด 8 การกำกับมาตรฐานหน่วยบริการ
หมวด 5 หน่วยบริการและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
หมวด 7 พนักงานเจ้าหน้าที่
หมวด 6 คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
เป็นองค์กรของรัฐ
ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
เป็นสำนักงานเลขานุการ
ภารกิจหลัก
การบริหารจัดการเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาระบบบริการสาธารณสุข
ได้รับงบประมาณค่ารักษาพยาบาลเหมาจ่ายรายหัวจากรัฐบาล
จ่ายงบประมาณที่ได้รับนั้นให้แก่โรงพยาบาลอีกทอดหนึ่ง
คณะกรรมการได้จัดประชุมระดมสมอง
ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสามารถดูแลชีวิตคนจำนวนมหาศาลได้
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ ศ 2550
เริ่มใช้ 19 มีนาคม 2550
ธรรมนูญสุขภาพของประเทศไทย
6 หมวด + 1 บทเฉพาะกาล มี 55 มาตรา
เป็นเครื่องมือหนึ่งของการปฎิรูประบบสุขภาพ
มุมมอง 3 ประการ
บุคลากร
สมัชชาสุขภาพ
ทิศทางการทำงาน
หัวใจสำคัฐ คือการมีส่วนร่วม
ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมแบบ ตัวหลัก
บุคลากรสาธารณสุขเป็น ตัวเสริม
สาระสำคัญ พ ร บ สุขภาพแห่งชาติ
คุ้มครองสิทธิของประชาชน 8 ด้าน
ขยายมิติทางสุขภาพให้กว้างขึ้น
มี คสช เป็นกลไกใหม่ในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ
เกิด สช เป็นหน่วยงานธุรการของ คสช.
สร้างการมีส่วนร่วมผ่านสมัชชาสุขภาพ
มีธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
สิทธิหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิในการร้องขอและเข้าร่วมกระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ
สิทธิในการแสดงความจำนงที่จะไม่รับบริการที่เป็นไปเพื่อยืดการตาย
สุขภาพของหญิง เด็ก คนพิการ สูงอายุ คนด้อยโอกาสต้องได้รับการเสริมสร้าง
สิทธิในการดำรงชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ