Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้คลอดเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด (โดยไม่ใช้ยา)…
การดูแลผู้คลอดเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด (โดยไม่ใช้ยา) และการส่งเสริมสุขภาพในระยะคลอด
แนวคิดและทฤษฎี
สมาคมความปวดนานาชาติ
เป็นประสบการณ์ด้านการรับรู้และอารมณ์ที่ไม่พึงประสงค์อันเกิดจากเนื้อเยื่อที่ได้รับบาดเจ็บ
ทฤษฎีควบคุมประตู (Gate control theory)
เป็นการลดสัญญาณการสงผานกระแสประสาทความเจ็บปวดไปสูระดับสมอง
การรับรู้ต่อความเจ็บปวดจึงลดลง
ทฤษฎีการยืดขยายของมดลูก (uterine stretch theories)
การคลอดจะเริ่มต้นเมื่อมดลูกมีการยืดขยายถึงที่สุด
เกิดกระบวนการมีการทำงานประสานกันของมดลูกกกส่วนบนและส่วนล่าง
ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนระหว่างEstrogen และ progesterone
ในระยะท้ายของการตั้งครรภ์ estrogenในเลือดมากขึ้น กระตุ้นให้ Alpha receptor ท างานมากขึ้นส่งผลให้กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัวและเกิดการเจ็บครรภ์คลอด
ทฤษฎีกระตุ้นฮอร์โมน Oxytocin
เชื่อว่าการคลอดเป็นภาวะเครียดของร่างกาย
ต่อมใต้สมองส่วนหลังของผู้คลอดหลั่งOxytocin มาก
ท าให้เกิดการหดรัดตัวของมดลูก
ทฤษฎีการหลั่งฮอร์โมนProstaglandin
ต่อมหมวกไตของทารกจะหลั่งสารที่กระตุ้นให้เยื่อหุ้มทารกชั้น chorionและ amnion
ทำให้ให้มีการหดรัดตัวของมดลูกและมีอาการเจ็บครรภ์คลอด
ปฏิกิริยาและการตอบสนองต่อความเจ็บปวดผู้คลอดและทารกในครรภ์ในระยะคลอด
ผู้คลอด
ปฏิกิริยาเฉพาะที่
มดลูกหดรัดตัวปล่อยprostaglandin
กระตุ้นปลายประสาทรับความรู้สึกเจ็บปวด
เนื้อเยื่อหลั่งสารbradykininและhistamine
มดลูกไวต่อความเจ็บปวด
ระดับไขสันหลัง
reflexทำให้กล้ามเนื้อลายและหลอดเลือดหดตัว
เลือดไม่มาเลี้ยง
เกิดanaerobic metabolism
เกิดlactic acidและlocal acidosis
ทำให้เจ็บปวด
กล้ามเนื้อระบบทางเดินอาหาร
ระบบขับถ่ายลดลง
ระดับเหนือไขสันหลัง
มีการกระตุ้นautonomic centerในไฮโปธาลามัสเร่งการทำงานของประสาทซิมพาเธติคให้หลั่งepinephrineเพิ่มขึ้น
ระดับเปลือกสมอง
ปฏิกิริยาทางจิต
มีการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมทางอารมณ์
ปฏิกิริยาทางจิตสรีระ
พฤติกรรมด้านน้ำเสียง
พฤติกรรมด้านการเคลื่อนไหว
ด้านทารกในครรภ์
ขณะเจ็บครรภ์
เกิดfetal distressทารกชดเชยโดยการเพิ่ม cardiac output
ถ้าขาดออกซิเจนนาน
ภาวะ late deceleration
การยับยั้งการส่งพลังประสาทความเจ็บปวดไปยังสมอง
การทำงานของใยประสาทการรับรู้ของใยประสาทขนาดใหญ่และขนาดเล็ก
เกิดกลไกระดับไขสันหลังบริเวณsubstantia gelationosa
ใยประสาทขนาดใหญ่
บริเวณผิวหนัง
ปิดประตูการลูบสัมผัส การนวด
ลดความเจ็บปวด
การส่งสัญญาณจากเรติคูลาร์ฟอร์เมชั่นในก้านสมอง
ปรับสัญญาณที่เข้าและออก ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม
การเบี่ยงเบนความสนใจ
ลดความเจ็บปวด
ความเบื่อ ความจำเจ
ความเจ็บปวดยังคงอยู่และรู้สึกมากขึ้น
การส่งสัญญาณจากเปลือกสมองและธาลามัส
กระบวนการสติปัญญา (Cognitive)
ความรู้สึกหรืออารมณ์ (affective)
ความรู้สึกนึกคิดมีอิทธิพลต่อความเจ็บปวด
แนวทางการบรรเทาการเจ็บครรภ์คลอดจากหลักฐานเชิงประจักษ์
ด้านจริยธรรมและสิทธิผู้คลอด
ให้ผู้คลอดเลือกวิธีการบรรเทาอาการปวดด้วยตนเอง
สิทธิที่จะได้รับความรู้เกี่ยวกับการเจ็บครรภ์คลอด
ด้านการประเมินความเจ็บปวด
สอบถามและสังเกตอาการเจ็บปวด
ใช้เครื่องมือประเมินการเจ็บครรภ์
Numeric Rating Scale
แบบสังเกตพฤติกรรม/การเปลี่ยนแปลงทางสรีระขณะเผชิญกับอาการเจ็บครรภ์คลอด(PBI)
แนวปฏิบัติในการบรรเทาการเจ็บครรภ์คลอดจากหลักฐานเชิงประจักษ์
วิธีการไม่ใช้ยา / ใช้ร่วมกับการใช้ยา
การเตรียมความรู้ก่อนคลอด
ให้ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุ อาการ และลักษณะการเจ็บปวด
ทีมแพทย์ร่วมวางแผนการบรรเทาอาการเจ็บปวดกับผู้คลอด ครอบครัว
โปรแกรมการให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ในทีมสุขภาพ
การดูแลอย่างต่อเนื่อง
การปรับท่าทางและการเคลื่อนไหวในระยะคลอด
ปากมดลูกเปิดน้อย
แนะนำให้ยืน หรือเดิน
ขณะรอคลอด
ให้ผู้คลอดอยู่ในท่า Upright
ท่านั่งพิง
ท่าคลาน
รายที่ปากมดลูกเปิด 6-8 ซม.
นั่งดีกว่านอน
เปลี่ยนท่าทุก 30-60 นาที
การนวดและการสัมผัส
นวมศีรษะ หลัง มือ เท้า
แล้วแต่ความชอบผู้ชอบ
อย่างน้อย 20 นาที
นวดแบบกดเน้นบริเวณกระดูกกระเบนเหน็บ
ลดความเจ็บเมื่อศีรษะทารกเคลื่อนต่ำ
การสัมผัสเพื่อให้กำลังใจ
การบำบัดด้วยน้ำ
การประคบร้อน
บริเวณท้องส่วนล่าง ต้นขา ขาหนีบ ฝีเย็บ และหลัง
การใช้ผ้าเย็นเช็ดหน้าและลำตัว
การผ่อนคลายหรือการหายใจ
Breathing
การใช้เทคนิคผ่อนคลาย(Relaxation)
การผ่อนคลายกล้ามเนื้อเพื่อลดความเจ็บปวด
อื่นๆ
การปรับสภาพแวดล้อมในห้องรอคลอด
การส่งเสริมความเป็นส่วนตัว
วิธีการใช้ยา
การดูแลเพื่อบรรเทาความปวดในระยะคลอดโดยไม่ใช้ยา
การลดตัวกระตุ้นความปวด
การเคลื่อนไหว
การนั่ง
swaying
sitting backwards on a chair
การนั่งเอียงไปมา rocking
การเต้นรำช้า ๆ
ท่า
upright position
ทำให้ sacroiliac ligamentsไม่ตึงมดลูกไม่กดทับเส้นเลือดinferior vena cava ที่ไหลกลับสู่หัวใจผู้คลอด และเส้นเลือดdescending aortaในท้องที่ไปเลี้ยงอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
all four or hands and knees position
ท่าพีเอสยูแคท (PSU Cat)
ผู้คลอดหันหน้าไปทางหัวเตียงที่ยกสูง 45-60 องศา วางหน้าและอกผุ้คลอดบนหมอน เข่ายันพื้นแยกห่างกันพอประมาณ ให้แนวล าตัวส่วนบนสูงกว่าส่วนล่างเล็กน้อย
ท่าคุกเข่าโน้มตัวไปข้างหน้าโอบแขนและพักบนลูกบอลที่มีความสูงระดับไหล่
ท่านั่งยอง
ศีรษะและลำตัวอยู่ในแนวดิ่ง
ท ามุมกับพื้นราบ 60-90 องศา
ช่วยเพิ่มแรงดันภายในมดลูกขณะมีการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก
การเคลื่อนไหวอย่างอิสระ
การกระตุ้นประสาทส่วนปลาย
การประคบร้อน และเย็น
ประคบร้อน
ใช้อุณหภูมิประมาณ 40-50 องศาเซลเซียส
เพิ่มความทนต่อความปวดมากขึ้น
ประคบความเย็น
อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซีย
ทำให้การส่งกระแสประสาทช้าลง
ลดการไหลเวียนเลืด
วารีบ้าบัด
การสัมผัส การนวด และการกดจุด
การลูบ
การนวด
เน้นบริเวณไหล่ หลัง กระเบนเหน็บ และต้นข
นวด 30 นาที/ครั้ง
ในช่วงปากมดลูกเปิด 3-4 , 5-7 และ 8-10 เซนติเมตร
การกดจุด
กระตุ้นปลายประสาทขนาดใหญ่
ตำแหน่ง
SP6
LI4
Hegu
BL67
การส่งเสริมการยับยั งการส่งกระแสประสาทจากไขสันหลังในระดับสมอง
การใช้ดนตรี
การเพ่งและเบี่ยงเบนความสนใจ (attention-focusing and distraction)
สุคนธบำบัด
breathing technique
ระยะปากมดลูกเปิดช้า
slow-deep chest breathing
ระยะปากมดลูกเปิดเร็ว
ระยะปากมดลูกเปิด 4-7 เซนติเมตร
shallow accelerated decelerated breathing
ปากมดลูกเปิด 8-10เซนติเมตร
shallow breathing with forced blowing out หรือ pant-blow breathing
การเบ่งคลอด(pushing)
กลั้นหายใจนานมากกว่า 6 วินาทีขณะเบ่งคลอด
ระยะที่ 2
ใช้เวลาเบ่งแต่ละครั้งนาน 4–8วินาที
การส่งเสริมความสุขสบายในระยะคลอด
ดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
ดูแลรักษาความสะอาดทั้งปาก และฟัน
ช่วยให้ผู้คลอดเผชิญกับความปวดและความไม่สุขสบาย
จัดสิ่งแวดล้อมให้มีความเป็นส่วนตัวมากเท่าที่จะทำได้
การจัดการความเจ็บปวดในระยะคลอดโดยการใช้ยา
ยาPethidine ( Meperidine )
ให้ได้ทั้ง IV push และ IV dripและ IM
สารละลายที่สามารถผสมเพื่อเจือจาง Pethidine
Dextrose
Lactate Ringe
Dextrose in water
0.9 % Sodium Chloride
การให้ IV injection
เจือจางความเข้มข้น อย่างน้อย10 mg/ml(0.1 –1 mg / cc )
ยาที่ไม่ควรใช้ร่วมกัน
Heparine Phenyloin Na HCO3Barbiturate
Phenobabital
thiopental
Aminophylline
ยา Fentanyl
เป็นยาบรรเทาปวดชนิดเสพติด
ออกฤทธิ์เร็ว
มีฤทธิ์กดการหายใจ
อาจท าให้กล้ามเนื้อหดเกร็ง
ม่านตาหดตัว
หัวใจเต้นช้า
หลังให้ยา
ประเมินอัตราการหายใจและชีพจรหลังให้ยา 10 –15 นาที