Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 14 ความอดทน ความเสียสละ ความเมตตากรุณา และความรับผิดชอบ - Coggle…
บทที่ 14 ความอดทน ความเสียสละ ความเมตตากรุณา และความรับผิดชอบ
ความอดทน
ความหมาย
ราชบัณฑิตยสถาน (2542: 8) ความอดทนหมายถึงความบึกบึนหรือความหมดใจ
พัชนี ศรีทองนาก (2518:10)ความอดทนเป็นความพยายามสร้างความดีโดยสามารถแยกออกได้4ลักษณะ ความอดทนต่อความลำบากตรากตรำอดทนต่อทุกขเวทนาอดทนต่อการล่วงเกินของคนอื่นทนต่ออำนาจกิเลส
พระเทพวิธี (ประยุทธ์,2533:26) ความอดทนเป็นการทนลำบากทนตรากตรำทนเจ็บใจความหนักเอาเบาสู้เพื่อบรรลุจุดหมายที่ดีงาม
สมสุดา ผู้วัฒน์และอัจฉรา ธนะมัย (2543:4)ความอดทนเป็นความเข้มแข็งของจิตใจของบุคคลในการที่จะละเว้นความชั่วและกระทำความดี
พระธมมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต,2543:75) ความอดทนเป็นความอดได้ทนได้เพื่อบรรลุความดีงามและความมุ่งหมายอันชอบ
ลักษณะของความอดทน
มีความอดกลั้นมากถูกคนพาลด่าก็ทำราวกับว่าไม่ได้ยิน
เป็นผู้ไม่ดุร้ายสามารถข่มความโกรธไว้ได้โดยไม่โกรธ
ไม่ปลูกน้ำตาให้แกคล้ายๆไม่กรอกทุกข์ให้แก่ผู้อื่น
มีใจเบิกบานแจ่มไป
พฤติกรรมความอดทน
พฤติกรรมความอดทนทางใจ
ความอดทนต่อการกระทบกระทั่งกันการยั่วยุเช่นไม่กล่าวคำหยาบคายมากกว่าผู้ปู่ยิ้มอารมณ์ควบคุมกัลยาการให้เป็นปกติ
พฤติกรรมความอดทนทางกาย
ความอดทนต่อความลำบากในการงานหรือการเรียนเช่นเมื่อมีอุปสรรคในการเรียนก็ไม่ท้อถอย
องค์ประกอบความอดทน
ความอดทนทางกาย
ได้แก่ ความอดทนในความลำบากในการทำงานหรือการเรียน
ความอดทนทางใจ
ได้แก่ ความอดทนต่อการกระทบกระทั่งยั่วยุให้เจ็บใจและอดทนต่อกิเลส
ความเสียสละ
ความหมาย
ผู้ที่ให้ความช่วยเหลือผู้อื่นหรือผู้ที่เห็นแก่ประโยชน์ของผู้อื่นเป็นความรู้สึกภายในตัวบุคคลที่ไวต่อความต้องการให้ความช่วยเหลือของผู้อื่น
พฤติกรรมที่แสดงถึงความเสียสละ 5 ประการ
การให้ทางกาย
เช่น เหลือผู้อื่นทำธุรการงานที่ไม่มีโทษช่วยเหลืองานสาธารณประโยชน์
การให้ทางกำลังสติปัญญา
เช่น ช่วยแสดงความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมาช่วยแก้ปัญหาเดือดร้อน
การให้ด้วยวาจาเช่นช่วยเหลือ
ให้คำแนะนำทั้งในทางโลกและทางธรรมช่วยเจรจาธุระให้สำเร็จประโยชน์
การให้ด้วยกำลังทรัพย์
เช่น การแบ่งปันเครื่องอุปโภคบริโภคให้แก่ผู้ขัดสนที่สมควรให้
การให้ทางใจ
เช่น ยินดีเมื่อเห็นผู้อื่นมีความสุขไม่สมน้ำหน้าผู้อื่น ไม่อาฆาตจองเวร
ความเสียสละตามหลักศาสนา
ความเสียสละในทัศนะพุทธศาสนา พระราชวิสุทธิมุนีโมลี 2526 100 กล่าวถึงความเสียสละมีคุณค่าทางจริยธรรม
คนในสังคมเกิดความอบอุ่น
เกิดความมั่นคงเจริญแก่ประเทศชาติ
ทำให้สังคมช่วยเหลือกันรักและสามัคคีกัน
ทำให้สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
ความเสียสละในทัศนะอิสลามความอิสระตามแนวคิดของอิมามฮะซัน อัลบันนา
การเสียสละทรัพย์สินในหนทางของอัลเลาะห์
การเสียสละเวลาและทุ่มเทในหนทางของอัลเลาะห์
การเสียสละร่างกาย
ความเมตตากรุณา
ความหมาย
เมตตาบริสุทธิ์ หมายถึง จิตใจที่บริสุทธิ์ใจกว้าง ไม่หวังอะไรตอบแทน ปราณี
เมตตา หมายถึง ความรักใคร่ ความเยื่อใยปรารถนาจะให้สัตว์ทั้งปวงให้พ้นทุกข์และมีความสุข ความรักความปรารถนาดี มีไมตรีจิต คิดประโยชน์ให้แก่มนุษย์ และพวงสัตว์ทั่วไป
กรุณา หมายถึง ความสงสารความคิดและความต้องการช่วยให้ผู้อื่นที่ได้รับทุกข์ พ้นทุกข์ ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยการสละส่วนที่เป็นของตนเองเพื่อส่วนรวม
นักจิตวิทยาและนักศึกษาหลายท่าน
ความเมตตากรุณา หมายถึง การแสดงออกถึงความรู้สึกสงสาร เห็นอกเห็นใจผู้อื่น รู้สึกการให้อภัยซึ่งกันและกัน รู้จักแบ่งปันและยินดีช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความเต็มใจ
ความสำคัญของความเมตตากรุณา
มีปราณีต่อผู้อื่น ไม่ทำร้ายผู้อื่นรู้สัตว์โลก
ไม่แย่งคู่ครองของคนอื่น
ไม่ค้ายาเสพติด
ม่หลอกลวงไม่ใส่ร้ายไม่ทำให้ผู้อื่นเข้าใจผิด
ม่รักไม่โกงทรัพย์ของผู้อื่น
พฤติกรรมของความเมตตากรุณา
พฤติกรรมของความเมตตากรุณาของครูเป็นการกล่าววาจาเหมาะสมการประพฤติและการแสดงออกเป็นเพื่อนที่เหมาะสม การแบ่งปันในสิ่งที่ตนมีอยู่จนเกินความจำเป็นอย่างเหมาะสม การเสียสละในสิ่งที่ตนมีให้ผู้ที่จำเป็นกว่า การช่วยเหลือเมื่อเห็นผู้อื่นประสบทุกข์ภัย การเห็นใจการปลอบโยน การยินดีกับความสุขความสำเร็จที่ผู้อื่นได้รับ
ความรับผิดชอบ
ความหมาย
เป็นพฤติกรรมความตั้งใจความเอาใจใส่ในการปฏิบัติหน้าที่การงานตามที่ได้รับมอบหมายให้สำเร็จลุล่วงด้วยความมานะพยายามเอาใจใส่และตรงต่อเวลาเพื่อให้งานนั้นสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้
องค์ประกอบของความรับผิด
ความรับผิดชอบสูง ได้แก่ การให้ความเอาใจใส่การเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตยให้วินัยด้วยการให้เหตุผล
ความรับผิดชอบของผู้เรียน
ความรับผิดชอบของผู้เรียนลักษณะทางสังคมเศรษฐกิจ
ลักษณะทางสังคมจิตวิทยาคือความเชื่อมั่นในตนเองความมีระเบียบวินัยความซื่อสัตย์ความคิดสร้างสรรค์
ลักษณะการยอมรับตนการรู้จักนำต้นได้แก่การรู้คุณค่าความชาญฉลาดมีความมั่นใจในตนเองและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
ความสำคัญของความรับผิดชอบ
เป็นที่นับถือได้รับการยกย่องสรรเสริญ
เป็นที่นับถือได้รับการยกย่องสรรเสริญเป็นสิ่งที่เกื้อกูลให้บุคคลปฏิบัติงานสอดคล้องกับกฎจริยธรรมและหลักเกณฑ์ของสังคม
คนที่มีความรับผิดชอบย่อมทำงานทุกอย่างสำเร็จตามเป้าหมายทันเวลา
ทำให้เกิดความก้าวหน้าความสงบสุขและความเรียบร้อยในสังคม
ม่เป็นต้นเหตุแห่งความเสื่อมและเสียหายต่อส่วนรวม
ประเภทของความรับผิดชอบ
ความรับผิดชอบต่อตนเอง
หมายถึงหน้าที่ของผู้เรียนที่จะต้องปฏิบัติต่อตนเอง
ตั้งใจเรียนดูแลรักษาเครื่องใช้ส่วนตัวให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
ประพฤติตนเป็นคนดี
เอาใจใส่สุขภาพอนามัย
ความรับผิดชอบต่อสังคม
หมายถึงการกระทำต่อผู้อื่นที่อยู่ร่วมในสังคมเดียวกัน
ความรับผิดชอบต่อชุมชนและประเทศชาติ
รับผิดชอบต่อโรงเรียนและครูอาจารย์ความ
ความรับผิดชอบต่อบิดามารดาและครอบครัว
รับผิดชอบต่อเพื่อน
พฤติกรรมความรับผิดชอบของครู
เอาใจใส่ในการ ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ซื่อสัตย์ต่อหน้าที่โดยไม่คำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนตัว
ซื่อสัตย์ต่อหน้าที่โดยไม่คำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนตัว
ประเภทของความรับผิดชอบ
ความรับผิดชอบต่อตนเองหมายถึงการที่บุคคลรับรู้มีความรู้และสามารถปฏิบัติตนให้ตนเองเกิดความสุข
ความรับผิดชอบต่อองค์การและสังคมหมายถึงการที่บุคคลรอบรู้มีความรู้และประพฤติปฏิบัติตนสามารถทำงานและอยู่ในสังคมร่วมกับคนอื่นได้อย่างมีความสุข
ความรับผิดชอบต่อประเทศชาติหมายถึงการที่บุคคลรับรู้มีความรู้และประพฤติปฏิบัติในสิ่งที่จะช่วยให้ประเทศชาติมีความมั่นคง