Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
End Stage Renal Disease (ESRD), นางสาวสุพรรณี นกขาว เลขที่ 85…
End Stage Renal Disease (ESRD)
ไตทำหน้าที่ในการรักษาสมดุลน้ำ อิเล็กโทรไลต์ กรด-ด่าง ขับถ่ายของเสีย และสร้างฮอร์โมน Erythropoietin
ระยะแบ่งออกเป็น 5 ระยะ
ระยะที่ 4 eGFR ช่วง 15 - 29 ml/min/1.73 m2
ระยะที่ 5 eGFR น้อยกว่า 15 ml/min/1.73 m2
ค่า eGFR = 7
ระยะที่ 3a eGFR มากกว่า 49-59 ml/min/1.73 m2
ระยะที่ 2 eGFR ช่วง 60-89 ml/min/1.73 m2
ระยะที่ 1 eGFR มากกว่า 90 ml/min/1.73 m2
ระยะที่ 3b eGFR ช่วง 30-49 ml/min/1.73 m2
การเปลี่ยนแปลง/อาการ
ทางชีวเคมี
อัตราการกรองไตและความสามารถใน
การขับโพแทสเซียมลดลง + ภาวะ metabolic acidosis
เกิดภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูง Hyperkalemia
อาการของ Hyperkalemia
ปัสสาวะออกน้อย
ปัจจัยร่วม เช่น ติดเชื้อ เลือดออกทางเดินอาหาร
ได้รับยา Lasix 80 mg
Hyperkalemia + ความไม่สมดุลของอิเล็กโตไลต์
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ Atrial fibrillation
Solotrate 1x2 po pc
Carvedilol (25) 1x2 po pc
Atrial fibrillation [no same shape P wave, large variation RR int. ]
abnormal rhythm EKG
Atrial fibrillation with rapid ventricular response [no same shape P wave, large variation RR int., vent. rate >= 100 bpm ]
Moderate ST depression, probably digitalis effect [0.05+ mV ST depression (V4, V6)]
Abnormal QRS-T angle [QRS-T axis difference > 60]
ARTIFACT PRESENT
ELECTRODE(S) DETACHED ... Repeat EKG is requested
abnormal rhythm EKG
kalimate 30 g stat
Potassium 5.2 mmol/l
ภาวะ metabolic acidosis คือ ภาวะผิดปกติในดุลย์กรด-ด่างของสารน้ำในร่างกาย เป็นภาวะที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติ metabolic acidosis เป็นภาวะกรดที่เกิดจากการที่ร่างกายได้รับ hydrogen ion เพิ่มขึ้นทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของ anion gap
anion gap = 23 mmol/l
ได้รับยา Sodium bicarbonate 2x3 po pc
การรับประทานอาหารได้น้อย ขาดสารอาหารที่
จำเป็นต้องใช้ในเม็ดเลือดแดงและขาดฮออร์โมน erythropoietin
ที่กระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดงของไขกระดูกทำให้เม็ดเลือดเเดง
มีจำนวนน้อยลง
เกิดภาวะโลหิตจาง Anemia
RBC Count 220,000 cell/uL
Hb 6.7 g/dl
Hct 20.1 %
ผู้ป่วยมีภาวะซีด ผิวหนังสีเหลืองน้ำตาล
Folic acid 1x1 po pc
ไตไม่สามารถขับของเสียจากการเผาผลาญออกได้ทำให้ระดับ BUN, Cr ในเลือดสูงมีอาการและอาการแสดงของภาวะ Uremia
Uremia คือ ภาวะของเสียคั้ง เช่น เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย
ผู้ป่วยมีการเบื่ออาหาร
อ่อนเพลีย
BUN 121.4 mg/dl
Creatinine 7.27 mg/dl
ภาวะโลหิต Anemia
ตามระบบต่างๆ
ระบบประสาท
เกิดจากพิษของ uremia และความไม่สมดุลของน้ำ อิเล็กโทรไลต์ และกรด-ด่าง ทำให้เกิดอาการปวดศรีษะ อ่อนเพลีย ง่วงซึม และความผิดปกติของระบบประสาทส่วนปลายทั้งการรับความรู้สึก (sensory) การสั่งการ (motor) มักเริ่มที่ขาทั้ง 2 ข้าง ทำให้มีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง
ผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลีย มีแขนขาอ่อนแรง
ไม่สามารถเดินไปเข้าห้องน้ำเองได้ใน 2 วัน
หลังจากมาโรงพยาบาล
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
การคั่งของโซเดียมและน้ำและการหลั่ง renin เพิ่มมากขึ้น
+ความดันโลหิตสูง hypertension
ส่งผลให้เกิดอันตรายต่อเยื้อบุหลอดเลือดโดยตรง และมีการรวมตัวกันของ lipoprotein ที่ผนังหลอดเลือดมากขึ้น ทำให้เกิดภาวะหลอดเลือดแข็งตัว (atherosclerosis)
+ความผิดปกติของไขมันในเลือด
ผู้ป่วยมีระดับไขมันในเลือดสูง
ทำให้เกิดหัวใจขาดเลือด
ภาวะน้ำเกิน
เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
Hydralazine (25) 2x3 po pc Manidipine 1x1 po pc
Hyperkalemia + ความไม่สมดุลของอิเล็กโตไลต์
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ Atrial fibrillation
Renin คือ เอนไซม์ที่ควบคุมความสมดุลของ
การสร้าง Aldosterone
Aldosterone คือฮอร์โมนที่ถูกสร้างจากต่อมหมวกไต
เมื่อเกิดการหลั่งออกมามากเกินไป
ระบบหายใจ
มีภาวะน้ำเกินทำให้เกิดภาวะน้ำท่วมปอด
ทำให้มีอาการหายใจเหนื่อยหอบ หายใจลำบาก
R = 22 ครั้ง/นาที
ภาวะ uremia
ทำให้ผู้ป่วยอ่อนเพลีย
ภาวะน้ำเกิน เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ electrolyte ทำให้เกิดความไม่สมดุลของ electrolyte เนื่องจากไตสูญเสียหน้ที่ในการดูดกลับและ ขับออกของน้ำ โซเดียม โปตัสเซียม และแคลเซียม
ระบบทางเดินอาหาร
เกิดจากภาวะ uremia
มีอาการเบื่ออาหาร
มีกลิ่นปากเฉพาะ คือ uremic fetor
ผู้ป่วยมีกลิ่นปากคล้ายกับกลิ่นปัสสาวะ
เกิดการระคายเคืองในทางเดินอาหาร + เลือดออกในทางเดินอาหาร
ทำให้เกิด Hyperkalemia
Potassium 5.2 mmol/l
ระบบโลหิต
การขาด Erythropoietin ทำหน้าที่กระตุ้นการทำงานของไขกระดูกในการสร้างเม็ดเลือดแดงและเป็นกรดจากการเผาผลาญ การเกิด uremia มีผลต่อการสร้างเม็ดเลือดแดง และผนังหลอดเลือด ทำให้เม็ดเลือดแดงแตกง่าย
จะมีอาการติดเชื้อได้ง่าย จากการขาดสารอาหารและระบบภูมิคุ้มกันถูกกด เม็ดเลือดขาวทำหน้าที่ได้น้อยลง
ผู้ป่วยเบื่ออาหารรับประทานอาหารได้น้อยลง
RBC Count 220,000 cell/uL
Hb 6.7 g/dl
Hct 20.1 %
ระบบผิวหนัง
มีอาการซีดจากภาวะโลหิตจาง
ทำให้ผิวเป็นสีเหลือง น้ำตาล
พิษของ uremia + การเสื่อมของปลายประสาท
ผู้ป่วยมีจ้ำเลือด ผิวหนังเขียวช้ำง่าย
พยาธิสรีรวิทยา
เกิดจากการเสื่อมของไต และการถูกทำลายของหน่วยไต มีผลทำให้การกรองทั้งหมดลดลงและการขับถ่ายของเสียลดลง ปริมาณ Creatinine และ BUN ในเลือดสูงขึ้น หน่วยไตที่เหลืออยู่จะเจริญมากผิดปกติเพื่อกรองของเสียที่มีมากขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นคือทำให้ไตเสียความสามารถในการปรับความเข้มข้นของปัสสาวะ ปัสสาวะถูกขับออกไปต่อเนื่อง หน่วยไตไม่สามารถดูดกลับเกลือแร่ต่างๆ ทำให้สูญเสียเกลือแร่ออกจากร่างกาย เมื่ออัตราการกรองของไตน้อยกว่า 10-20 มล./นาที ส่งผลให้เกิดการคั่งของยูเรียในร่างกายเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิตในที่สุด ดังนั้นเมื่อเข้าสู่ระยะดังกล่าวผู้ป่วยจึงควรได้รับการรักษาด้วยการบำบัดทดแทนไต
BUN 121.4 mg/dl
Creatinine 7.27 mg/dl
eGFR 7
ผู้ป่วยปฎิเสธการบำบัดทดแทนไต
Renal Replacement Therapy
การรักษา
การบำบัดทดแทนไต
Renal Replacement Therapy
การปลูกถ่ายไต (Kidney transplantion)
การล้างไตทางช่องท้อง (Peritoneal dialysis)
การฟอกเลือด (Hemodialysis)
ผู้ป่วยและญาติปฎิเสธการรักษาด้วยการบำบัดทดแทนไต
Renal Replacement Therapy
การรักษาที่ผู้ป่วยได้รับ
ได้รับ O2 canula 3 LM
kalimate 30 g stat
Lactulose 30 ml stat
Lasix 80 mg ก่อนให้เลือด
ASA (81) 1x1 pc
Atorvastatin (40) 1tab oral hs
Carvedilol (25) 1x2 po pc
Solotrate 1x2 po pc
Losec (20) 1x1 po pc
Hydralazine (25) 2x3 po pc
Manidipine 1x1 po pc
Lorazepam (0.5) 1x1 po hs
Isordil (5) 1-tab prn
Sodium bicarbonate 2x3 po pc
ได้รับ PRC ทั้งหมด 3 U
สาเหตุ/ปัจจัย
Hypertension
เมื่อมีความดันโลหิตสูงเป็นระยะเวลานานจะทำให้หลอดเลือด
ในไตตีบ เนื่องจากผนังหลอดเลือดหนาและแข็งขึ้น
ส่งผลให้ไตขาดเลือด และเกิดภาวะไตเรื้องรังตามมา
Hydralazine (25) 2x3 po pc
Manidipine 1x1 po pc
DLP
ไขมันโคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือดสูงเป็นเวลานาน
จะทำให้เกิดการสะสมของไขมันที่ผนังเส้นเลือดและอุดตัน
หลอดเลือดแดงไปเรื่อยๆ ทำให้เลือดไม่สามารถไปเลี้ยงไตได้น้อยลง
Atorvastatin (40) 1tab oral hs
DM
น้ำตาลไปสะสมในผนังหลอดเลือดมากเป็นระยะเวลานานจนทำให้หลอดเลือดฝอย
ที่ไตตีบและอุดตัน ส่งผลให้ไตมีประสิทธิภาพการกรองของเสียออกจากร่างกายลดลง
ทำให้ไตสูญเสียหน้าที่
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะโลหิต Anemia
RBC Count 220,000 cell/uL
Hb 6.7 g/dl
Hct 20.1 %
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ Atrial fibrillation
Potassium 5.2 mmol/l
Atrial fibrillation [no same shape P wave, large variation RR int. ]
abnormal rhythm EKG
Atrial fibrillation with rapid ventricular response [no same shape P wave, large variation RR int., vent. rate >= 100 bpm ]
Moderate ST depression, probably digitalis effect [0.05+ mV ST depression (V4, V6)]
Abnormal QRS-T angle [QRS-T axis difference > 60]
ARTIFACT PRESENT
ELECTRODE(S) DETACHED ... Repeat EKG is requested
abnormal rhythm EKG
ข้อมูลผู้ป่วย
ผู้ป่วยเพศ ชาย อายุ 67 ปี 7 เดือน 29 วัน เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
UD = DM, HT, DLP CC = เจ็บหน้าอก หายใจเหนื่อย 1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
Pi = 6 ปีก่อนตรวจพบเป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง รับการรักษาที่โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า
4 ปีก่อนตรวจพบโรคไตระยะที่ 4 รับการรักษาที่โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า
1 ปีก่อนมาโรงพยาบาล ด้วยอาการเจ็บหน้าอกหอบเหนื่อย ตรวจพบภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้ว รับการรักษาที่โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า
1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยบอกว่า เจ็บหน้าอก เหนื่อยมากขึ้น หายใจหอบเหนื่อย นอนหมอน 2 ใบ ไม่ดีขึ้น จึงนำตัวส่งโรงพยาบาล
การวินิจฉัยโรค
การตรวจร่างกาย
ผู้ป่วยอาจจะไม่มีอาการแสดง แต่เมื่อไตเริ่มเสื่อมมากขึ้นผู้ป่วยจะปัสสาวะกลางคืนบ่อย เนื่องจากไตไม่สามารถดูดน้ำกลับ ผู้ป่วยยังมีอาการเหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย และอาการระบบต่างๆที่กล่าวมาข้างต้น
ผู้ป่วยมีอาการหายใจเหนื่อยหอบ อ่อนเพลีย
ผลตรวจท่างห้องปฎิบัติการ
BUN หรือ Blood Urea Nitrogen (ไนโตรเจนจากสารยูเรียที่มีอยู่ในกระแสเลือด)
Cr หรือ Creatinine ( การตรวจสอบสมรรถภาพการทำงานของไต)
eGFR (การกรองของไต)
BUN 121.4 mg/dl
Creatinine 7.27 mg/dl
eGFR 7
นางสาวสุพรรณี นกขาว เลขที่ 85 นักศึกษาชั้นปีที่ 3B :<3: