Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยฟื้นคืนชีพในทารกและเด็ก, สรุปบทบาทของพยาบาลเกี่ยวกับการทำ CPR,…
การช่วยฟื้นคืนชีพในทารกและเด็ก
แนวทางและหลักการช่วยฟื้นคืนชีพในทารก
ทารกใช้ ABC
ทารกแรกเกิดควรได้รับการดูแลดังนี้
การกู้ชีพขั้นเบื้องต้น
ให้ความอบอุ่น
จัดท่าเพื่อเปิดทางเดินหายใจ
เช็ดตัวทารกและกระตุ้นทารก
การช่วยหายใจ ในการช่วยหายใจแรงดันบวก
ข้อบ่งชี้
เมื่อทารกหยุดหายใจ หายใจเฮือก(Gasping)หรืออัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100 ครั้งต่อนาที
มีภาวะตัวเขียวขณะให้ออกซิเจนความเข้มข้น 100%
การกดหน้าอก
เมื่ออัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 60 ครั้งต่อนาที ทั้งๆที่ทารกได้รับการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกอย่างเพียงพอแล้วต้องรีบประเมินภายใน 1 นาที เนื่องจากการหายใจเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในการช่วยกู้ชีพทารก
ผู้ปฏิบัติการช่วยกู้ชีพต้องช่วยหายใจอย่างเหมาะสมก่อนจึงเริ่มการกดหน้าอก
อัตราการนวดหัวใจและการช่วยหายใจเป็น 3 :1 โดยเป็นการกดหน้าอก 90 ครั้งและช่วยหายใจ 30 ครั้ง รวมเป็น 120 ครั้งใน 1 นาที
การให้ยา epinephrine หรือสารน้ำ (volume expansion)
แนะนำช่วยหายใจที่ 40-60 ครั้งต่อนาที
มีอัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 100 ครั้งต่อนาทีและประเมินและช่วยเหลือ ในช่วงแรกด้วยแรงดันบวก(PPV)ไม่ควรเกิน 15 วินาทีแล้วรีบประเมินทารกทันที
การช่วยเหลือพื้นฐานหรือขั้นต้น
ดูแลเรื่องความอบอุ่น ป้องกันการสูญเสียความร้อน
เช็ดตัวทารกให้แห้ง
วางทารกใต้เครื่องรังสีความร้อน
ห่อตัวให้ทารกด้วยผ้าที่อุ่นหรืออาจให้ทารกนอนบนหน้าอก
เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
ใช้นิ้วชี้ดึงคางขึ้นมืออีกข้างหนึ่งกดหน้าผากลงเล็กน้อย เอียงหูและแก้มฟังเสียงหายใจตามองที่หน้าอกเพื่อสังเกตการเคลื่อนไหวของทรวงอกและประเมินการหายใจ หลังจากนั้นดูดเสมหะในปากและจมูกตามลำดับ
จัดท่านอนสำหรับทารก ควรจัดให้ทารกนอนหงายหรือนอนตะแคงโดยแนวของศีรษะควรตรงและเงยหน้าเล็กน้อยเพื่อเปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
ใช้ผ้าห่มหรือผ้าเช็ดตัวม้วนรองใต้ไหล่
Suctioning
ผู้ช่วยที่ทำคลอดควรใช้ลูกสูบยางแดงดูดเสมหะจากในปากจากนั้นดูดในคอและจมูกตามลำดับ
Clearing the airway of meconium
Tectile stimulation กระตุ้นทารกควรกระตุ้นโดยการตีหรือดีดฝ่าเท้า ใช้มือลูบหลัง แต่ไม่ควรทำนาน 15-20 วินาที
Oxygen administration ให้ 100%ในทารก cyanosis
Ventilations การกระตุ้นการหายใจควรให้ oxygen ทางสายเข้า face mask แต่ถ้าทารกไม่ดีขึ้นควรให้ PPV
ข้อบ่งชี้ในการให้ PPV
1.ทารกไม่หายใจ
2.ทารกไม่ตอบสนอง
3.ทารก apnea
4.ทารกหายใจอัตราการเต้นน้อยกว่า 100 bpm
5.ทารกที่มีภาวะ cyanosis
Chest compression ทำเมื่อทารกมี HR น้อยกว่า 60 bpm
มี 2 วิธี
Two finger technique คือเอานิ้วกลางและนิ้วชี้วางลงบนกระดูกหน้าอก ในระดับต่ำกว่าราวนมและเหนือลิ้นปี่ในแนวตรง ให้ระดับนิ้วทั้ง2อยู่ในแนวเดียวกัน กดลึกประมาณ 1/3 ของ AP diameter ของทรวงอกทารก
Thumb technique คือการเอามือ 2 ข้างโอบรอบทรวงกทารก โดยให้ฝ่ามือแนบกับแผ่นหลังของทารก วางนิ้วหัวแม่มือทั้ง2(ข้างบน sternum ชิดกันหรือวางซ้อนถ้าทรวงอกทารกเล็ก
แนวทางและหลักการช่วยฟื้นคืนชีพในเด็ก
เด็กใช้ CAB
C=circulation
คือขั้นตอนการช่วยให้โลหิตไหลเวียน
Assessment : Determine Pulseless หรือ
การประเมินการทำงานของหัวใจ โดยคลำชีพจรที่ซอกคอ(Carotid Pulse)ที่ข้อพับ (Brachial Pulse)
หรือคลำที่ขาหนีบ(Femoral Pulse) ในเวลา 5-10 วินาที ว่ามีหรือไม่ ถ้าไม่มีแสดงว่าหัวใจหยุดเต้น
A = Airway คือยั้นตอนการทำหายใจให้โล่ง
Assessment หรือประเมินความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
ประเมินโยการดีดฝ่าเท้าหรือลูบหลัง
Call for help หรือเรียกขอความช่วยเหลือ
คือเมื่อแน่ใจว่าผู้ป่วยมี Cardiac arrest ก็ร้องขอความช่วยเหลือ
เรียกผู้ร่วมงานมาช่วย
เตรียมรถ Emergency
ไม้กระดานสามสำหรับรองหลัง
ชุดให้ออกซิเจน
ชุดดูดเสมหะ
Position the victim หรือการจัดท่าระหว่างรอแพทย์
พยาบาลจัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงายราบ ไม่หนุนหมอน หรือสอดไม้กระดานรองหลังผู้ป่วย
Open the airway เปิดทางเดินหายใจ
ถ้าไม่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจให้ใช้นิ้วล้วงเอาสิ่งแปลกปลอม หรือเศษอาหารออก(Finger sweep)
ทำเฉพาะในรายที่ช่องปากกว้างกว่านิ้วเท่านั้น
และหากมีชุดดูดเสมหะให้ใช้เครื่องดูดเสมหะ น้ำมูก น้ำลาย ที่ขวางทางเดินหายใจออกแล้วเปิดทางเดินหายใจให้โล่ง โดยกดหน้าผากลง (Head Tilit)และยกคางขึ้น หรือยกขากรรไกรขึ้น(Jaw Thrust)
ในรายที่สงสัยว่ามี Cervicle spine injury
ในเด็กเล็กไม่ทำเพราะทำให้สิ่งแปลกปลอมเคลื่อนเข้าข้างในมากขึ้น
จะใช้วิธีการอุ้มด้วยแขนบริเวณเอวของผู้ช่วยเหลือและตบสะบักด้วยสันมือ
B = Breathing คือขั้นตอนการช่วยหายใจ
Determine Breathlessness and Breath for the victim
คือเมื่อตรวจแล้วผู้ป่วยหยุดหายใจหรือหายใจลำบากมาก ต้องการให้การช่วยเหลือโดยใช้หน้ากากช่วยหายใจ (Ambu Face mask)ต่อเข้ากับถุงช่วยหายใจ(Resuscitating bag) และให้ออกซิเจนเปิด 12 -15 ลิตรต่อนาที ครอบจมูกและปากโดยจับคางยกขึ้นและกดหน้าผากลง ครอบหน้ากากช่วยหายใจให้แน่น โดยขนาดของหน้ากากอนามัยต้องมีขนาดพอเหมาะกับปากและจมูกของผู้ป่วย
หลังจากนั้นบีบลมเข้าออกแต่องสังเกตว่าลมเข้าปอดดีหรือไม่ โดยจะเห็นหน้าอกขยายขึ้น และแฟบลงตามแรงบีบ
ในเด็้เล็กบีบลมเข้าประมาณ 20 ครั้งต่อนาที ในเด็กโตประมาณ 15 ครั้งต่อนาที หรือเป่าปาก 2 ครั้ง ในช่วงแรก โดยพยายามทำให้หน้าอกขยาย
ถ้าไม่มีการเคลื่อนไหวของหน้าอกให้ทำในอัตรา 20 ครั้งต่อนาที
เมื่อทำ cpr ควรประเมินผล
1.คลำชีพจรและวัดความดันได้
2.ผู้ป่วยตอบสนองต่อการกระตุ้น
3.อาการเขียวลดลง
4.รูม่านตาเล็กลงและมีปฏิกิริยาต่อแสง
5.ผู้ป่วยเริ่มหายใจเองได้
6.ผู้ป่วยตื่นและรู้สึกตัวดี
CPR จะมีประสิทธิภาพขึ้นอยู่กับ
ทีม COR
2.อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้
3.บุคลากรควรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนในการทำ CPR
ควรหยุดทำ cpr เมื่อ
1 ทำ cpr แล้วไม่ตอบสนอง
2.Irreversible brain damaged.Brain death
3.ผู้ป่วยอาการดีขึ้น
ภาวะแทรกซ้อนของการทำ CPR
1.อาเจียน
2.กระดูกน้าอกหัก
3.กระดูกซี่โครงหัก
4.มีลมในช่องเยื่อหุ้มปอด
5.มีเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มปอด
6.อวัยวะภายในฉีกขาด
7.มีเลือดออกภายใน
8.ปอดช้ำ
9.กระดูกซี่โครงแยกออกจากกระดูก
สรุปบทบาทของพยาบาลเกี่ยวกับการทำ CPR
1.พยาบาลต้องมีความรู้และความเข่้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนการทำที่ถูกต้องและทันสมัย
2.พยาบาลจะต้องมีความรอบคอบ ช่างสังเกต และสามารถจัดเตรียมอุปกรณ์ฉุกเฉินได้ทันและเร็วในขณะที่ Cardiac Arrest เกิดขึ้น
3.พยาบาลต้องมีความรู้ความสามารถในการประเมินผลและวินิจฉัยผู้ที่มี Cardiac arrest
4.พยาบาลควรมีสติและไม่ตกใจเมื่อมีเหตุการณ์ฉุกเฉินเกิดขึ้น
5.พยาบาลมีความรู้เกี่ยวกับการใช้ยา ขนาดของยาและเครื่องมือต่างๆในการทำ CPR
6.พยาบาลควรมีการตรวจเช็คเครื่องมือต่างๆที่เกี่ยวกับการทำให้อยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้อยู่เสมอ
ยาควบคุมการทำงานของหัวใจและความดันโลหิต
Adrenaline
Atropine
Lidocaine
Isuprel
Dobutamine
Dopamine
10% calcium gluconate
ช่วยเพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจและช่วยยับยั้งการทำงานของ k+ มักใช้ในผู้ป่วย electromechanical dissociation
กระตุ้นทั้งแอลฟาและเบต้า รีเซปีเตอร์ช่วยให้หัวใจบีบตัวแรง
เป็น synthetic cathecholemine drug ออกฤทธิ์โดยตรงต่อ beta adrenergic receptor stimulanting ทำให้ cardiac output เพิ่มขึ้น
เป็นยา beta receptor stimulation บ่วยกระตุ้นการเค้นของหัวใจให้เร็วขึ้น
เป็นยา Antiarrhymic drug
ถ้าไม่ได้ผลใช้ cordarone
เป็นยา parasympathetic ทำให้หัวใจเต้นแรงและเร็ว
เป็นทั้งแอลฟาและเบต้า receptor stimulating action ช่วยให้หัวใจบีบตัวและเต้นเร็ว