Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พฤติกรรมผู้บริโภคบริการสุขภาพ 1 - Coggle Diagram
พฤติกรรมผู้บริโภคบริการสุขภาพ 1
แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรม
ความหมายของพฤติกรรม
กันยาสุวรรณแสง พฤติกรรมคืออาการบทบาทลีลาท่าทีความพฤติกรรมการกระทาที่แสดงออกให้ปรากฏสัมผัสได้ด้วยประสาทสัมผัสหรือวัดด้วยเครื่องมือพฤติกรรมที่ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้าคือตาปากจมูกหูและผิวกาย
สมจิตต์สุพรรณทัสน์ พฤติกรรมหมายถึงกิจกรรมต่างๆของอินทรีย์ที่แสดงออกมาโดยสามารถสังเกตได้ด้วยบุคคลอื่นๆ
องค์ประกอบของพฤติกรรม
ทางกาย( Physical ) รูปร่างของมนุษย์ทั้งที่เห็นด้วยตาและมองไม่เห็น
ทางสติปัญญา( Intellience ) คือความสามารถของสมองเป็นหลักแสดงออกในแง่ของเชาว์ปัญญาความฉลาดการเรียนรู้การจดจาเชาว์ปัญญาคือIQ IQ เป็นมาตรฐานวัดความฉลาดของมนุษย์ถ้าIQ สูงแสดงว่ามีระดับสติปัญญาสูง
ทางอารมณ์( Emotional ) ซึ่งก็คือEQ นั่นเอง“คนที่รู้ว่าตนเองมีอารมณ์เป็นอย่างไรย่อมควบคุมทางเดินในชีวิตได้ดีกว่า“
ทางสังคม( Social ) หมายถึงความสามารถของบุคคลที่แสดงออกในหมู่คนที่เรียกว่า“มีความเก่งคน” Social ability
พฤติกรรมทางบุคลิกภาพ
บุคลิกภาพภายนอก
เป็นสิ่งที่สังเกตได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง5 คือหูตาลิ้นจมูกและกาย
บุคลิกภาพภายใน
เป็นสิ่งที่บุคคลสั่งสมมานานจากการอบรมเลี้ยงดูและการศึกษาจากโรงเรียนบุคลิกภาพภายในเป็นสิ่งที่มองไม่เห็นสัมผัสได้ยาก
พื้นฐานความคิดพฤติกรรมมนุษย์
คนมีความแตกต่างกัน4ด้าน
พฤติกรรมทุกพฤติกรรมต้องมีสาเหตุสาเหตุที่ทาให้บุคคลมีพฤติกรรม
พฤติกรรมทุกพฤติกรรมต้องมีแรงจูงใจ
สาเหตุที่ต่างกันอาจนาไปสู่พฤติกรรมเดียวที่เหมือนกันได้
สาเหตุเดียวกันอาจทาให้เกิดการตอบสนองพฤติกรรมที่ต่างกัน
คนและสังคมมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
คนในสิ่งแวดล้อมเดียวกันมักมีแบบแผนในการปฏิบัติหรือแสดงออกที่คล้ายกัน
การแบ่งพฤติกรรม
พฤติกรรมปกติ
พฤติกรรมของบุคคลส่วนใหญ่จะเป็นไปในแบบเดียวกันในพัฒนาการตามวัยต่าง ๆ ของมนุษย์ ซึ่งสังคมและวัฒนธรรมนั้น ๆ จะเป็นกรอบที่บังคับพฤติกรรมให้บุคคลแสดงออก
พฤติกรรมอปกติหรือพฤติกรรมเบี่ยงเบน
พฤติกรรมที่ไม่ได้เป็นตามเกณฑ์พิจารณาของพฤติกรรมปกติ
จะเป็นพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนไปจากบรรทัดฐานทางสังคม อาจจะเบี่ยงเบนไปในทางบวก หรือด้านลบ ขึ้นอยู่กับสถานที่ เวลา สภาพ
แวดล้อม และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมด้วย
ประเภทของพฤติกรรม
พฤติกรรมด้านเจตพิสัย
การตอบสนอง
การให้ค่า
การรับ
การจัดกลุ่มค่า
การแสดงคุณลักษณะตามค่านิยมที่ยึดถือ
พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย
การปฏิบัติ ใช้ความสามารถที่แสดงออกทางร่างกาย
เป็นพฤติกรรมขั้นสุดท้ายที่เป็นเป้าหมายของการศึกษา
ประเมินง่าย แต่กระบวนการในการทาให้เกิดยาก
พฤติกรรมด้านพุทธพิสัย
การวิเคราะห์
การสังเคราะห์
การประเมินผล
การประยุกต์หรือการนาเอาความรู้ไปใช้
ความเข้าใจ
การรู้
พฤติกรรมสุขภาพ
ความหมาย
การแสดงออกของบุคคลทั้งภายใน ภายนอก ที่สังเกตได้และสังเกตไม่ได้ ในการกระทำ หรืองดเว้นการกระทาสิ่งที่มีผลต่อสุขภาพ ตนเอง ครอบครัว หรือชุมชน
จำแนกออกได้เป็น 2ลักษณะ
เป็นการกระทา(Action)
พฤติกรรมสุขภาพในลักษณะที่เป็นการกระทาคือการกระทาหรือการปฏิบัติของบุคคลที่มีผลดีหรือผลเสียต่อสุขภาพ
เป็นการไม่กระทา(Non Action)
ส่วนพฤติกรรมที่เป็นการไม่กระทาคือการงดเว้นไม่กระทาหรือการไม่ปฏิบัติของบุคคลที่มีผลดีหรือผลเสียต่อสุขภาพ
พฤติกรรมผู้บริโภค
ความหมาย
พฤติกรรมของบุคคลในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าและบริการ
สิทธิของผู้บริโภค
สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากสินค้า
สิทธิที่จะไม่ถูกบังคับให้บริโภคเนื่องจากการผูกขาด
สิทธิที่จะได้รับทราบความเป็นจริงและความเป็นธรรม ไม่ถูกเอาเปรียบ หลอกลวงจากการโฆษณา
สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาโดยเร็วเมื่อไม่ได้รับความเป็นธรรม
จิตวิทยาเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคสินค้าสุขภาพ
เมื่อเจ็บป่วย บุคคลจะปฏิบัติตัวแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับ
ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุของโรค
ขนบธรรมเนียมประเพณี
ความเชื่อเดิม
ความสนใจ
การรับรู้เกี่ยวกับความรุนแรงของโรค
ค่านิยม
อาการและการรักษาโรค
สถานบริการที่มีในชุมชน
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมผู้บริโภคด้านสุขภาพ
ปัจจัยภายในตัวบุคคล
พฤติกรรมการบริโภคตามความพอใจ
พฤติกรรมการบริโภคด้วยเหตุผลและความจาเป็น
ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา
ปัจจัยภายนอกตัวบุคคล
ทางด้านเศรษฐกิจและการศึกษา
ทางด้านการเมือง
ปัจจัยทางด้านสังคมและวัฒนธรรม
ทางด้านเทคโนโลยี
ทางกายภาพ