Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบต่อมไร้ท่อ - Coggle Diagram
บทที่ 9 ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบต่อมไร้ท่อ
โรคเบาหวาน
ประเภทของเบาหวาน
เบาหวานชนิดที่1 พบในอายุมากกว่า30ปี เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้ มีรูปร่างผอม การรักษาต้องใช้ยาฉีดอินซูลิน
เบาหวานชนิดที่2 พบในอายุน้อยกว่า40ปี เกิดจากการดื้อต่ออินซูลิน มีรูปร่างอ้วน รักษาด้วยการควบคมอาหารหรือยาเม็ดลดระดับน้ำตาล
ยาเบาหวาน ( Antidiabetic drugs )
ยาที่ลดภาวะดื้อต่ออินซูลิน ( Insulin sensitizer)
Metformin ออกฤทธิ์โดยการยับยั งการสร้างกลูโคสจากตับเป็นหลัก
Thiazolidinediones ออกฤทธิ์โดยการกระตุ้น peroxisome proliferator activated receptor gamma ซึ่งอยู่ในเซลล์ไขมันเป็นหลัก
ยาที่ออกฤทธิ์ยับยั่งเอนไซม์ alpha-glucosidase ที่ผนังลำไส้ ( alpha-glucosidase inhibitors) ทำให้การดูดซึมกลูโคสจากทางเดินอาหารเกิดขึ นช้าลง
ยาที่กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากเบต้าเซลล์ของตับอ่อน
Sulfonylureas ออกฤทธิ์โดยการจับกับ Sulfonylurea receptor ที่เบต้าเซลล์ ของตับอ่อน
Non-sulfonylurea insulin secretagogues ออกฤทธิ์กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจาก เบต้าเซลล์ของตับอ่อน
Dipeptidyl Peptidase (DPP) IV inhibitors เป็นยาที่ยับยั่งเอนไซม์ที่ใช้ในการ ทำลายฮอร์โมนที่หลั่งจากลำไส้
ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคเบาหวาน
น้ำหนักเกิน กรรมพันธุ์ เครียดเรื้อรัง เป็นต้น
คุณสมบัติของยาเบาหวานแต่ละชนิด
Non-Sulfonylurea Insulin secretagogue ในประเทศไทยมีแต่ Repaglinide ยานี ออกฤทธิ์เร็วและ ระยะเวลาในการออกฤทธิ์สัน จึงแนะน้าให้กินก่อนอาหาร 15 นาที สามารถลดระดับน้ำตาลหลังมื ออาหารได้ดีกว่า Sulfonylurea ข้อเสีย คือ ต้องบริหารยาวันละหลายครั่ง ยาราคาแพง
Metformin ยานี ออกฤทธิ์โดยการกระตุ้น AMP-activated protein kinase ท้าให้การออกฤทธิ์ ของอินซูลินดีขึ น โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เซลล์ตับยานี มีข้อดีคือ ไม่ทำให้ระดับน ้าตาลในเลือดต่้าโดยเฉพาะใช้เป็นยาเดี่ยว ยาลดความผิดปกติอื่นซึ่งเกี่ยวข้องกับภาวะดื้อต่ออินซูลิน ผลข้างเคียง คลื่นไส้ ท้องเสีย เบื่ออาหาร ลิ้นไม่รับรส Lactic acidosis
Sulfonylurea ยาที่มีผลข้างเคียงที่ท้าให้เกิดน้ำตาลในเลือดต่้าได้บ่อย คือ ยา Chlorpropamide และ glibenclamide จึงควรหลีกเลี่ยงยานี ลดระดับ HbA1c ได้ประมาณ 1.5-2 % ผลข้างเคียงที่พบบ่อยคือ ภาวะน้ำตาลในเลือดต่้า น้ำหนักตัวเพิ่มขึน
Alpha-glucosidase inhibitors ยาในกลุ่มนี ได้แก่ Acarbose และ Voglibose ยานี ออกฤทธิ์โดยการยับยั งเอนไซม์ alpha-glucosidase ที่ผนังลำไส้ เอนไซม์นี มีหน้าที่ย่อย Complex carbohydrate และ oligosaccharide ผลข้างเคียง ท้องอืด แน่นท้อง ผายลมบ่อย ถ่ายเหลว ปวดท้อง ไม่ควรใช้ในผู้ป่วย ที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหาร
Thiazolidinediones ยาในกลุ่มนี ได้แก่ rosiglitazone และ pioglitazone เป็นยาที่ออกฤทธิ์ลดระดับ น้ำตาลโดยการลดภาวะดื้อต่ออินซูลิน ยานี ออกฤทธิ์ส่วนใหญ่ที่เซลล์ไขมัน ผลข้างเคียง น้ำหนักตัวเพิ่มขึน อาการบวม
Dipeptidyl peptidase -4 inhibitors ยาในกลุ่มนี ออกฤทธิ์ลดระดับน้ำตาล โดยเพิ่มการออกฤทธิ์ของฮอร์โมนที่หลั่งจาก ทางเดินอาหารที่ส้าคัญ GLP-1 ยังมีผลต่อระบบประสาทส่วนกลางทำให้รู้สึกอิ่มและลดการบีบตัวของ กระเพาะอาหาร ยาในกลุ่มนี ได้แก่ Sitagliptin และ vidagliptin ผลข้างเคียง น้อยมาก
อาการของโรคเบาหวาน
ปัสสาวะตอนกลางคืนบ่อย หิวบ่อย กินจุแต่น้ำหนักลด คอแห้ง กระหายน้ำ ดื่มน้ำมาก(ผลจากกรที่ร่างกายสูญเสียน้ำมากทางปัสสาวะ) แผลจะหายยาก มีการติดเชื้อตามผิวหนังเกิดฝีบ่อย คันตามผิวหนัง มีการติดเชื้อราโดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณช่องคลอดของเพศหญิง มีตาพร่ามัว ชาตามปลายมือปลายเท้า
ชนิดของอินซูลิน
Short acting Insulin ได้แก่ regular insulin ลักษณะเด่น เป็นอินซูลินชนิดใส ที่เริ่มออกฤทธิ์ ภายใน 30-60 นาที แนะน้าให้ฉีดก่อนรับประทานอาหารครึ่งชั่วโมง อินซูลินชนิดนี สามารถให้ทางหลอดเลือดได้
Intermediate-acting insulin มี2ประเภทได้แก่ 1. NPH (Neutral protamine Hagedorn หรือ Isophane insulin ) ใช้ protamine เป็นสารที่ท้าให้อินซูลินออกฤทธิ์นานขึ น อินซูลินชนิดนี ออก ฤทธิ์ภายใน 2-4 ชั่วโมง 2. Lente insulin ใช้สังกะสี (Zinc) เป็นสารที่ท้าให้อินซูลินออกฤทธิ์นาน ขึ้น ระยะเวลาของการออกฤทธิ์ช้ากว่า NPH insulin เล็กน้อยโดยเริ่ม ออกฤทธิ์ภายใน 3-4 ชั่วโมง
Rapid acting insulin อนุพันธ์ของอินซูลิน (insulin analogue) ที่ได้จากการ เปลี่ยนแปลง amino acid บางตัวบนสายอินซูลิน ลักษณะเด่น เป็นอินซูลินชนิดใสที่เริ่มออกฤทธิ์เร็วภายใน 15-30 นาที แนะน้าให้ฉีดก่อน อาหาร 15 นาที สามารถให้ในหญิงตั งครรภ์ และเด็กอายุมากกว่า 2 ปี
Long acting insulin ได้แก่ Ultralente และอนุพันธ์ของอินซูลิน ซึ่งออกฤทธิ์ได้นานถึง 24 ชั่วโมง ลักษณะเด่น เป็นอินซูลินชนิดใส ไม่มีสี ไม่สามารถผสมกับอินซูลินชนิดอื่น ได้ ใช้เป็น basal insulin ฉีดวันละ 1-2 ครั้ง พิจารณาเลือกใช้ในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะระดับน้ำตาลในเลือดต่้าจากการ ใช้ NPH ไม่แนะน้าให้ใช้ในหญิงตั้งครรภ์
Premixed insulin เป็นอินซูลินที่ผสมมาก่อนแล้วจากผู้ผลิตในสัดส่วนต่างๆกัน คือ regular insulin กับ NPH insulin ในสัดส่วน 70:30 ลักษณะเด่น เกิดอุบัติการณ์ของการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่้าโดยเฉพาะ nocturmal hypoglycemia ต่้า
การป้องกัน
ออกกำลังกายอย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน อย่างน้อย 3วัน/สัปดาห์ ลดอาหารพวกแป้ง ไมัน และน้ำตาล เน้นผัก งดบุหรี่ แอลกอฮอล์ ติดตามความดันโลหิตอย่างน้อย ปีละ2ครั้ง 35ปีขึ้นไป ควรรับการคัดกรองเบาหวาน
การเก็บรักษาอินซูลิน
อินซูลินที่เปิดฝาแล้วสำหรับใช้ฉดีทุกวัน ถ้าเก็บไว้ที่อุณหภูมิห้อง (30 องศา เซลเซียส) จะอยู่ได้นาน 1 เดือนจะเก็บในตู้เย็นที่อุณหภูมิ 2- 8 องศาเซลเซียส อยู่ ได้นาน 3 เดือน
เมื่อต้องเดินทางไกล ไม่จ้าเป็นต้องแช่ขวดอินซูลินในกระติกน้ำแข็ง เพียงระวัง ไม่ให้ถูกแสงแดด หรือความร้อนอบอ้าวหรือทิ้งไว้ในรถที่มีอุณหภูมิสูง เมื่อถึงที่ พักควรน้ำขวดอินซูลินเก็บไว้ในที่เย็นหรือแช่ในตู้เย็นถ้ามี
อินซูลินที่เก็บไว้ใช้นานๆ ควรเก็บในตู้เย็นที่อุณหภูมิ 2 – 8 องศา เซลเซียส โดยวางตามชั นต่าง ๆ ในตู้เย็น ยกเว้นช่องท้าน้ำแข็งและบริเวณใกล้ ดวงไฟ
ก่อนใช้ควรตรวจสอบป้ายแสดง วัน เวลา ยาหมดอายุข้างขวดควรจดบันทึก ไว้ต่างหากเนื่องจากสลากยาอาจหลุดลอกไปได้
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบสืบพันธส์ตรี
ยาเลื่อนประจำเดือน
วิธีการรับประทานยาเลื่อนประจำเดือนท่ีถูกต้องคือ รับประทาน 1 เม็ด วันละ 2-3 ครั้ง ตามน้ำ หนักตัว
ในผู้หญิงที่ทานยาคุมกำเนิดแบบฮอร์โมน
กรณีท่ี 1 ทานยาคมุกำเนิดแบบแผงละ 21 เม็ด เม่ือทานยาคมุจนหมดแผง สามารถทานแผงต่อไปได้เลยไม่ต้องหยุดยาจะทำให ้สามารถเลืื่อน ประจำเดือนได้
กรณีท่ี 2 ทานยาคุมกำเนิดแบบแผงละ 28 เม็ด เม่ือทานยาคมุไป 21 เม็ด แล้ว จะเหลือยาอยู่7 เม็ด ให้เริ่มทานยาคมุกำเนิดแผงใหม่ ได้เลยโดยไม่ต้อง รับประทาน 7 เม็ดท่ีเหลือในแผงเดิม
ประจำเดือนนับเป็นกลไก ธรรมชาตทิ่ีเกิดขึ้น แต่หลายๆ ครั้งก็ทำความ ลำบากให้กับผู้หญิง โดยเฉพาะในการเดินทาง ท่องเท่ียว หรือทำ กิจกรรม ต่างๆ จึงมีการใช ้Norethisteroneซึ่งเป็น ฮอร์โมน progesterone
ยาปรับฮอร์โมน
Medroxyprogesterone ชื่อการค้า Provera
อาการอันไม่พึงประสงค์ อาการตึงคัดหรือมีสารคัดหลั่งจากเต้านม ชาหรือปวดบริเวณแขนหรือขา ปวด บริเวณหน้าอก ขาหนีบหรือขา ปวดศีรษะมาก ปวดท้อง หายใจไม่ออกแบบเฉียบพลัน ไม่ม่ีแรง
วัยทอง
ประจำเดือนมาน้อยวันและไม่สม่ำเสมอ มีอาการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์เร็ว เครียดง่าย หงุดหงิดโดยไม่มีสาเหตุโกรธง่าย ใจน้อย ควบคุมอารมณ์ได้ยาก บางคนหลงลืมง่าย เวียนศีรษะ ซึมเศร้า
ฮอร์โมนทดแทนสำหรับสตรีวัยทอง สตรีที่ได้รับการผ่าตัดมดลูกและรังไข่ออกทั้งสองข้างแล้ว นิยมให้ ฮอรโ์มนที่เป็นเอสโตรเจนแต่เพียงอย่างเดียว สตรีที่ยังมีมดลูกอยู่จะต้องได้รับยาฮอรโ์มนทดแทนรวม ซึ่ง ประกอบด้วยฮอร์โมนเอสโตรเจนและฮอร์โมนโปรเจสโตรเจน เพื่อป้องกันเยื่อบุโพรงมดลูกหนาตัว ซึ่งถ้าเยื่อบุโพรงมดลูกหนาตัวแล้วจะ มีความเสี่ยงที่จะเกิดมะเร็งของเยื่อบุโพรงมดลูกได้
ยาคุมกำเนิด
ยาคุมกำเนิดแบบธรรมดาแบ่งได้ 2 ชนิด
ยาคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนรวม Multiphasic pills ยาคุมที่มีฮอร์โมนเอสโตรเจน และโปรเจสโตเจนไม่เท่ากัน เรียกว่า Triphasic
ยาคุมกำเนิดชนิดที่มีแต่โปรเจสโตรเจน ยาคุมที่มีฮอร์โมนโปรเจสโตเจนเท่านั้น ไม่มีเอสโตรเจน ยาชนิดนี้ไม่มีผลต่อแม่ลูกอ่อน ต่อ ระบบหัวใจ และหลอดเหลือ
การเลือกกนิยาคุมกำเนิดให้เหมาะสมกับตัวเอง
ประเภทปกติ รอบเดือนมาสม่ำเสมอ ออกไม่มาก น้ำหนักตัวอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
ประเภท Estrogenic เช่น รอบเดือนออกมากแต่ระยะรอบ เดือนสั้น อ้วน ไม่มีขน ต้องกินยาคุมที่มี progestogen มาก
ประเภท Progestogenic เช่น รอบเดือนออกน้อยแต่ระยะ รอบเดือนยาว รูปร่างออกไปทางผู้ชาย เต้าเล็ก มีขนตามตัว มาก ต้องกินยาคุมที่มี estrogen มาก
ยาคุมฉุกเฉิน
อาการข้างเคียง การคลื่นไส้อาเจียน เกิดจากฮอร์โมนเอสโตรเจน เกิดในช่วง 2-3 เดือนแรก หากมีเลือดออกกระปริบกระปรอยให้การกินยาเวลา ใกล้เคียงกันที่สุดของทุกวัน น้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น ความดันโลหิตมีภาวะที่สูงขึ้น ให้กินยาคุมที่มีปริมาณ เอสโตรเจนต่ำจากเดิม หน้าเป็นฝ้า ให้ใช้ยาที่มีปริมาณเอสโตรเจน 20 ไมโครกรัม พร้อมรักษาฝ้า ใช้ครีมกันแดด
อาการข้างเคียงที่ต้องหยุดกิน
ปวดหัวมาก และรุนแรง 2. ปวดท้องรุนแรง 3. ตาพร่า ตามัวเห็นภาพผิดปกติ 4. เจ็บหน้าอกมาก 5. ปวดน่องอย่างรุนแรง 6. อาการตาเหลือง 7. รอบเดือนขาดนาน 3 เดือนติดต่อกัน 8. ความดันโลหิตสูง 9. โรคภูมิแพ้เกิดการกำเริบมากขึ้น
การออกฤทธ์ิ
มีลักษณะเดียวกันกับยาคุมกำ- เนิด แต่ต่างกันจะมีการทำงานหลาย ๆ อย่างพร้อมกัน เช่น - ยับยั้งไข่ตก - เปลี่ยนแปลงสภาพเยื่อบุโพรงมดลูก
การคุมกำเนิดที่ต้องกินยาเม็ดแรกหลังการมีเพศ สัมพันธ์ผ่านมาแล้ว 72 ชั่วโมง และเม็ดที่สองหลังจาก 12 ชั่วโมง ใช้ในกรณีที่เกิดความผิดพลาดเท่านั้น
ชุดตรวจสอบการตั้งครรภ์
ชนิดตลับ (Cassette style) นำหลอดหยดดูดน้ำปัสสาวะ หยดลงบนตลับทดสอบ การตั้งครรภ์บนพื้นราบ จากนั้นรออ่านผล 1-5 นาที
ชนิดปัสสาวะผ่าน (Midstream style) ให้ถือหรือวางแท่งทดสอบการตั้งครรภ์ให้ห้วลูกศรชี้ลง ในแนวนอน ปัสสาวะผ่านบริเวณดูดซับนำปัสสาวะเป็น เวลา 5 วินาที จากนั้นรออ่านผล 1-5 นาที
ชนิดจุ่ม (Strip style) ด้านที่มีลูกศรชี้ลงจุ่มลงใน น้ำปัสสาวะ 3 วินาที ระวังอย่าให้น้ำปัสสาวะสูงเกินขีด ลูกศร จากนั้นนำแผ่นทดสอบออกมาถือหรือวางให้อยู่ใน แนวนอนในที่แห้ง รออ่านผล 1-5 นาที
การยืนยันผลหลังใช้ชุดตรวจสอบการตั้งครรภ์ ระดับฮอร์โมน hCG ในผู้หญิงมีความแตกต่างกันในช่วงกว้าง ดังนั้นควร ตรวจการตั้งครรภค์รั้งที่ 2 เพื่อยืนยันผลการตรวจสอบการ ตั้งครรภ์ให้แน่นอน
ยาฉีดคุมกำเนิด
ปัญหาสำคัญอีกอย่างหนึ่งคือ ผลต่อความหนาแน่นของกระดูก (BMD) เน่ื่องจาก DMPA กดการสร้าง Estrogen ซึ่งมีผลทำให ้ BMD ลดลง การใช้DMPA เป็นเวลานานๆ อาจส่งผลให้กระดูกบางลงได้
ข้อแนะนำในการใช้ DMPA
สามารถฉีดเข้ากล้าม ได้ทุก 12 สัปดาห์ ควรมีบุตรแล้ว เพราะการกลับมามีบุตรใหม่หลังใช้ยาค่อนข้างช้า ป้องกันภาวะโลหิตจาง ป้องกันการติดเชื้ออุ้งเชิงกราน
ฮอร์โมนทดแทน
สรรพคุณ บรรเทาอาการภายหลังหมดประจา เดือน (วัยหมดประจำเดือน) ด้วยมี ฮอร์โมนเอสโตรเจนต่ำ บรรเทาอาการโรคกระดกูพรุนในหญิงวัยหมดประจำเดือน บรรเทาอาการแห้ง แสบคันของช่องคลอด (ภาวะช่องคลอดแห้ง)
Androcur Androcurมีตัวยาสำคัญคือ Cyproterone acetate มีข้อบ่งใช้ในเพศชาย เพ่ื่อรักษามะเร็ง ต่อมลูกหมากชนิดที่ไม่สามารถผ่าตัดได ้และ ช่วยลดความต้องการทางเพศในผู้ที่มีีความต้องการทาง เพศสูงกว่าปกติ ส่วนในเพศหญิงใช้รักษาสิว
Tibolone Tibolone เป็นสารสังเคราะห์ซึ่งเป็นอนุพันธ์ของ 19nortestosterone มีคณุสมบัติเป็นทั้ง estrogenic และ progestogenic และ androgenic อ่อนๆใช้รักษาอาการ vasomotor อาการจากการเสื่อมของอวัยวะระบบสืบพันธุ์ เพิ่มความ ต้องการและการตอบสนองทางเพศ.
Cyclo- progynova ยา cyclo-progynova ประกอบด้วยยาเม็ดสีขาวจำนวน 11 เม็ด และยาเม็ดสีน้ำตาลจำนวน 10 เม็ด ยาเม็ดสีขาวประกอบด้วยฮอร์โมน estadiol valerate 2mg
progynova Progynovaมีตัวยาสำคัญคือ estradiol valerateซึ่งเป็นฮอร์โมนเอสโตรเจนที่พบได้ทั้งในชาย และหญิง แต่ในเพศหญิงจะผลิตในปรมิาณที่สูงกว่าเพศชายมาก Progynovaจะใช้เพ่ื่อทดแทน ฮอร์โมนเพศในหญิงวัยหมดประจำเดือน
โรคทางต่อมไทรอยด์
Antithyroid Drugs
กลไกการออกฤทธิ์ คือ ยับยั้งการสร้าง T3 T4
สำหรับยา PTU ยังมีผลการยับยั้ง peripheral deiodination ของ T4ไป เป็น T3 ที่ตับ
ยาที่ใช้ในการรักษาโรคไทรอยด์เป็นพิษ(Thionamides) ในไทยมี 2 ชนิด ได้แก่ Propylthiouracil (PTU) และ Methimazole (MMI)
ผลข้างเคียง Agranulocytosis ผลต่อตับ ผลต่อการอักเสบของหลอด เลือด
ชนิดของยาและการเลือกใช้ยา
Toxicity ไม่แตกต่างกัน
MMI ความร่วมมือในการใช้ยาดีกว่า เนื่องจากสามารถรับประทานวันละ ครั้ง
พบว่า MMI การลดลงของระดับฮอร์โมนเร็วกว่า PTU
ในผู้ป่วยตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร แนะน้ำให้ใช้ PTU
Hyperthyroidism ภาวะไทรอยด์เป็นพิษ
เกิดจากฮอร์โมนไทรอยด์สูงในกระแสเลือด อาการแสดง ได้แก่ ใจสั่น มือสั่น เหนื่อย ง่าย ทานมากแต่น้ำหนักลด ขี้หงุดหงิด
ผลการตรวจ ระดับฮอร์โมนไทรอยด์ T3 และ หรือ FT4 สูง และค่า TSH ต่ำ โดยจะพบค่า TSH น้อยกว่า 0.1 mIU/L แสดงว่าต่อมไทรอยด์สร้างและหลั่งฮอร์โมน มากกว่าปกติและไปมีผลกดการสร้างและหลั่ง
Beta adrenergic blockers ได้แก่ยา Propranolol สามารถลดอาการแสดงของโรคได้อย่างรวดเร็ว เช่น อาการใจสั่น มือสั่น หัวใจเต้นเร็ว และวิตกกังวล
Hypothyroidism ภาวะไทรอยด์ฮอร์โมนต่ำ
อาการแสดง ได้แก่ อาการบวม น้ำหนักเพิ่มขึ น เชื่องช้า ท้องผูก ผิวแห้ง ขี้หนาว อ่อนเพลีย ไม่มีแรง เสียงแหบ
การวินิจฉัย การตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ คือค่า FT4 T4 และ T3 จะ ลดลง โดยจะพบค่า FT4 และ T4จะต่ำก่อน T3 และตรวจระดับ TSH
คือภาวะที่ต่อมไทรอยด์ทำงานน้อยทำให้เกิดการสร้างและหลั่งฮอร์โมนสู่ กระแสเลือดน้อยลง
ยารักษา Hypothyroid
ชื่อยา Levothyroxin ซึ่งเป็นไทรอยด์ฮอร์โมนสังเคราะห์
ผลข้างเคียง น้ำหนักลด ปวดหัว คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย นอนไม่หลับ
การให้ Synthetic hormone ของ Thyroxin (T4)
ฮอร์โมนพาราไทรอยด์สูง (Hyperparathyroidism )
อาการ
คลื่นไส้และอาเจียน เซื่องซึม มีภาวะขาดน้ำ ซึ่งอาจทำให้เกิดอาการ เช่น กระหายน้ำ ปัสสาวะน้อยกว่าปกติและมีสีเข้ม วิงเวียน อ่อนเพลีย ผิวแห้ง ตาแห้ง ปากแห้ง เป็นต้น ปวดกระดูกและข้อต่อ หัวใจเต้นผิดปกติ ความดันโลหิตสูง
สาเหตุ
เมื่อมีระดับแคลเซียมในเลือดต่ำ ร่างกาย จะหลั่งฮอร์โมนพาราไทรอยด์ออกมามากขึ้น เพื่อช่วยเพิ่มการปล่อย แคลเซียมออกด้วยการสลายกระดูกและเพิ่มปริมาณการดูดซึมแคลเซียมที่ ไตและลำไส้ จึงส่งผลให้มีระดับแคลเซียมในเลือดสูงขึ้น
ภาวะที่ต่อมพาราไทรอยด์ที่อยู่บริเวณคอผลิตฮอร์โมนพาราไทรอยด์ออกมามากกว่าปกติ ซึ่งผู้ป่วยมักไม่มีอาการใด ๆ หรือมีอาการเพียงเล็กน้อย ซึ่งภาวะนี มักส่งผลให้ผู้ป่วยมีระดับแคลเซียมใน เลือดสูงและสูญเสียแคลเซียมในกระดูก
การใช้ยา
ยากลุ่ม Bisphosphonate เช่น Ibandronate Zoledronate ช่วยป้องกันการสูญเสียแคลเซียมใน กระดูกและช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคกระดูกพรุนจากภาวะ Hyperparathyroidism
ฮอร์โมนทดแทน จะช่วยรักษาภาวะขาดแคลเซียมในกระดูกของผู้หญิงวัยหมดประจำเดือนที่มีอาการของ โรคกระดูกพรุน แต่วิธีนี ไม่อาจรักษาภาวะหรือโรคอื่น ๆ
ยากลุ่ม Calcimimetics อย่างยา Cinacalcet ซึ่งจะช่วยยับยั้งการผลิตและการหลั่งฮอร์โมนพาราไทรอยด์ แต่ยานี้อาจมีผลข้างเคียงเป็นอาการปวดข้อและปวดกล้ามเนื้อ
วิตามินดีและแคลเซียมเสริม สำหรับผู้ป่วยที่ขาดแคลเซียมและวิตามินดี อย่างผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง แพทย์อาจแนะนำให้ใช้วิตามินดี
Calcitonin ยาไปลด bone resorption และลด renal calcium reabsorption
Bisphosphonates
Oral bisphosphonate: Alendronate และ Risedronate
รูปแบบรับประทานดูดซึมผ่านทางเดินอาหารได้น้อยกว่าร้อยละ 1 จึงควร รับประทานในช่วงที่ท้องว่างก่อนอาหารมื้อเช้า
มีผลข้างเคียง น้อย ปลอยภัยเมื่อใช้เป็นระยะเวลานาน พบว่ายา Alendronate, Risedronate และ Zoledronic acid สามารถเพิ่มความหนาแน่นของมวล กระดูก ป้องกันกระดูกสันหลังหักได้ดีเมื่อเทียบกับยาหลอก
ในผู้ป่วยที่ไม่มีข้อห้ามใช้ยา แนะนำให้เลือกใช้ยา bisphosphonate รูปแบบ รับประทานเป็นทางเลือกแรก