Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลฉุกเฉินผู้บาดเจ็บศีรษะและไขสันหลัง - Coggle Diagram
การพยาบาลฉุกเฉินผู้บาดเจ็บศีรษะและไขสันหลัง
ประเภทของการบาดเจ็บศีรษะ (Classification of Head Injury)
บาดเจ็บที่หนังศีรษะ (scalp)
การบาดเจ็บต่อกะโหลกศีรษะ (Skull)
กะโหลกแตกร้าว (Linear fracture)
กะโหลกแตกยุบ (Depressed fracture)
ฐานกะโหลกแตก (Base of skull fracture)
การบาดเจ็บต่อสมอง (Traumatic brain injury; TBI)
สมองกระทบกระเทือน (Cerebral concussion)
สมองช้ำ (Cerebral contusion)
เนื้อสมองฉีกขาด (Cerebral laceration)
บาดเจ็บกระจายทั่วสมอง (Diffuse axon injury; DAI)
กลไกการบาดเจ็บที่ศีรษะ (Mechanism of Head Injury)
การบาดเจ็บโดยตรง (direct injury)
บาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะอยู่นิ่ง (static head injury)
บาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะเคลื่อนที่ (dynamic head injury)
การบาดเจ็บโดยอ้อม (indirect injury)
การบาดเจ็บที่เกิดขึ้นกับส่วนอื่นของร่างกาย
แล้วมีผลสะท้อน ทําให้เกิดการบาดเจ็บที่ศีรษะขึ้น
การประเมินและการดูแลผู้บาดเจ็บกระดูกสันหลังและไขสันหลัง
การประเมินผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ (Prehospital care)
การประเมินที่แผนกฉุกเฉิน (Primary emergency care)
บาดเจ็บไขสันหลัง (Spinal cord injury)
ประเภทของการบาดเจ็บไขสันหลัง (Classification of spinal cord injury)
ไขสันหลังบาดเจ็บแบบสมบูรณ์ (Complete spinal cord injury)
Tetraplegia (Quadriplegia)
Paraplegia
ไขสันหลังบาดเจ็บแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete spinal cord injury)
Anterior cord syndrome
Brown-Sequard syndrome หรือ
Hemicord lesion
Central cord syndrome
Posterior cord syndrome
Conus medullaris syndrome
(Sacral cord injury)
Cauda equine syndrome
(Peripheral syndrome)
ความรุนแรงของการบาดเจ็บไขสันหลัง (Severity of spinal cord injury)
A (Complete) อัมพาตอย่างสมบูรณ์ไม่มีการเคลื่อนไหวและไม่มีความรู้สึก
B (Incomplete) มีความรู้สึกในระดับ S4-5 แต่เคลื่อนไหวไม่ได้เลย
C (Incomplete) ความแข็งแรงของกล้ามเนื้ออยู่ต่ํากว่าระดับ 3
D (Incomplete) ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป
E (Normal) การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อและการรับความรู้สึกปกติ
การจัดการในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล (Pre-hospital management)
การประเมินสถานการณ์ (scene size-up)
การประเมินผู้บาดเจ็บเบื้องต้น
การประเมินผู้บาดเจ็บอย่างรวดเร็ว
การแบ่งความรุนแรงของการบาดเจ็บศีรษะ (Severity of Head Injury)
E (Eye opening) การประเมินการลืมตา แบ่งเป็น 4 ระดับคะแนน
E4 ลืมตาได้เอง (spontaneous)
E3 ลืมตาเมื่อได้ยินเสียง (To sound)
E2 ลืมตาเมื่อได้รับแรงกด (To pressure)
E1 ไม่ลืมตาเลย (none)
M (Motor response) การตอบสนองโดยการเคลื่อนไหว แบ่งเป็น 6 ระดับคะแนน
M6 เคลื่อนไหวได้ตามคําสั่ง (obey to command)
M5 ไม่ทําตามคําสั่งแต่ทราบตําแหน่งที่ถูกกระตุ้น/ปัดสิ่งกระตุ้นถูก (localized to pain)
M4 เมื่อทําให้เจ็บชักแขนขาหนี (withdrawal )
M3 แขนงอเข้าหาตัวผิดปกติ (Abnormal flexion) or Decortication)
M2 แขนและขาเหยียดผิดปกติ (Abnormal or Extension) (Decerebration)
M1 ไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น (None)
V (Verbal response) การตอบสนองโดยการพูด แบ่งเป็น 5 ระดับคะแนน
V5 พูดคุยได้ไม่สับสน (Orientated)
V4 พูดคุยสับสน (Confused)
V3 พูดเป็นคําๆ (Words)
V2 ส่งเสียงแต่ไม่เป็นคําพูด (Sounds)
V1 ไม่ส่งเสียงใดๆ (none)
จากผลรวมของคะแนนพฤติกรรม 3 ด้านจะบอกถึงความรุนแรงของการบาดเจ็บที่ศีรษะได้ดังนี้
ระดับคะแนน 13-15 คะแนน บาดเจ็บศีรษะเล็กน้อย (Mild or Minor head injury)
ระดับคะแนน 9-12 คะแนน บาดเจ็บศีรษะระดับปานกลาง (Moderate head injury)
ระดับคะแนน 3-8 คะแนน บาดเจ็บศีรษะระดับรุนแรง (Severe head injury)