Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาษาต่างประเทศกับการพัฒนาวิชาชีพครู, นางสาวภูริชญา กันทิยะ 60306521 -…
ภาษาต่างประเทศกับการพัฒนาวิชาชีพครู
แนวทางการพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก
การจัดโรงเรียนมาตรฐานสากล แนวทางการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล และการจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล
4) ต้องมีการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมมากขึ้น
5) การสอนภาษาต่างประเทศต้องมีประสิทธิภาพมากขึ้น
3) ต้องมีการพัฒนาทักษะการคิดมากขึ้น
ลักษณะของโรงเรียนมาตรฐานสากล
โรงเรียนที่มีการพัฒนาหลักสูตรการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
การบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพที่มุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก
มีทักษะ
ความรู้ความสามารถ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับเดียวกับมาตรฐานสากล
2) หลักสูตรการเรียนการสอนต้องมีความเป็นสากลมากขึ้น
การดำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล
เพื่อยกระดับการจัดการเรียนการสอนให้เทียบเคียงมาตรฐานสากลหรือมาตรฐานของประเทศชั้นนำที่มีคุณภาพการศึกษาสูง
เพื่อยกระดับการบริหารจัดการของโรงเรียนให้มีการบริหารด้วยระบบคุณภาพตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ
การบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพเป็น 3 ระดับ
ระดับที่ 1 การบริหารจัดการระบบคุณภาพ ระดับโรงเรียน
ระดับที่ 3 การบริหารจัดการระบบคุณภาพ ระดับชาติ
ระดับที่ 2 การบริหารจัดการระบบคุณภาพระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก
1) โรงเรียนต้องเป็นหน่วยบริการทางการศึกษาในมิติที่กว้างขึ้น
ความสำเร็จของการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล
โรงเรียนมาตรฐานสากล
ความสำคัญของภาษาต่างประเทศกับการพัฒนาวิชาชีพครู
ทักษะภาษาอังกฤษ : ความจำเป็นพื้นฐานในวิชาชีพครู
แนวทางการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของครู
หมั่นเข้าหาแหล่งข้อมูลทางวิชาการที่เป็นภาษาอังกฤษ
สอดแทรกสอนภาษาอังกฤษในวิชาที่รับผิดชอบ
ใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
จัดตารางและมีวินัยฝึกฝนต่อเนื่อง
สร้างแรงจูงใจพัฒนาภาษาอังกฤษให้ตนเอง
รวมตัวพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ
การพัฒนาวิชาชีพครูสู่สมรรถนะมาตรฐานสากล
กรอบสมรรถนะวิชาชีพครูในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ประกอบด้วยภาระงาน และความสามารถเฉพาะ
การพัฒนาและการใช้ทรัพยากรสำหรับการเรียนการสอน ประกอบด้วยภาระงาน และความสามารถเฉพาะ
การเตรียมแผนการสอนที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจของโรงเรียน ประกอบด้วยภาระงาน และความสามารถเฉพาะ
การพัฒนาทักษะการจัดลำดับความคิดในระดับสูง ประกอบด้วยภาระงาน และความสามารถเฉพาะ
การอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ ประกอบด้วยภาระงาน และความสามารถเฉพาะ
การส่งเสริมค่านิยมด้านศีลธรรมและจริยธรรม ประกอบด้วยภาระงาน และความสามารถเฉพาะ
ส่งเสริมการพัฒนาชีวิต และทักษะวิชาชีพแก่ผู้เรียน ประกอบด้วยภาระงาน และความสามารถเฉพาะ
การวัดและประเมินพฤติกรรมของผู้เรียน ประกอบด้วยภาระงาน และความสามารถเฉพาะ
การพัฒนาด้านวิชาชีพ ประกอบด้วยภาระงาน และความสามารถเฉพาะ
การสร้างเครือข่ายกับผู้เกี่ยวข้องโดยเฉพาะผู้ปกครองนักเรียน ประกอบด้วยภาระงาน และความสามารถเฉพาะ
การจัดสวัสดิการและภารกิจแก่นักเรียน ประกอบด้วยภาระงาน และความสามารถเฉพาะ
สมรรถนะหลัก (Core Competency)
การพัฒนาตนเอง
การทำงานเป็นทีม
การบริการที่ดี
จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู
การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน
สมรรถนะประจำสายงาน (Functional Competency)
2 การพัฒนาผู้เรียน
3 การบริหารจัดการชั้นเรียน
1 การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้
4 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
5 ภาวะผู้นำครู
6 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้
สมรรถนะของครูผู้สอนในศตวรรษที่ 21 ที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด
สมรรถนะตามสายปฏิบัติงาน (Functional Competency)
สมรรถนะหลัก (Core Competency)
สำหรับยุคแห่งเทคโนโลยีและการสื่อสารที่เต็มไปด้วยข้อมูลสารสนเทศหลากหลาย
Constructionist : ผู้สอนต้องเข้าใจแนวคิดที่ว่า ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ขึ้นได้เองจากการเชื่อมโยงความรู้เดิมที่มีอยู่เข้ากับความรู้และประสบการณ์ใหม่ ๆ
Connectivity : ผู้สอนต้องสามารถจัดกิจกรรมให้เชื่อมโยงระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
Computer (ICT) Integration : ผู้สอนต้องมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการจัดการเรียนการสอน
Content : ผู้สอนต้องมีความรู้และทักษะในเรื่องที่สอนเป็นอย่างดี
Communication : ผู้สอนมีทักษะการสื่อสาร ทั้งการบรรยาย การยกตัวอย่าง การเลือกใช้สื่อ การนำเสนอสื่อ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้
Creativity : ผู้สอนในศตวรรษที่ 21 จำเป็นต้องสร้างสรรค์กิจกรรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย
Caring : ผู้สอนต้องมีมุทิตาจิตต่อผู้เรียน ต้องแสดงออกถึงความรัก ความห่วงใยอย่างจริงใจต่อผู้เรียน
นางสาวภูริชญา กันทิยะ 60306521