Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบต่อมไร้ท่อ - Coggle Diagram
บทที่ 9
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบต่อมไร้ท่อ
ยาเบาหวาน ( Antidiabetic drugs )
1.ยาที่กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากเบต้าเซลล์ของตับอ่อน (Insulin secretagogues)
ยาที่ลดภาวะดื้อต่ออินซูลิน ( Insulin sensitizer)
ยาที่ออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ alpha-glucosidase ที่ผนังลำไส้ ( alpha-glucosidase inhibitors) ทำให้การดูดซึมกลูโคสจากทางเดินอาหารเกิดขึ้นช้าลง
Dipeptidyl Peptidase (DPP) IV inhibitors เป็นยาที่ยับยั้งเอนไซม์ที่ใช้ในการทำลายฮอร์โมนที่หลั่งจากลำไส้
ยาเบาหวาน
1.Sulfonylurea
Non-Sulfonylurea Insulin secretagogue
Metformin
Alpha-glucosidase inhibitors
Thiazolidinediones
Dipeptidyl peptidase -4 inhibitors
ชนิดของอินซูลิน
Rapid acting insulin
ชนิดใสที่เริ่มออกฤทธิ์เร็วภายใน 15-30 นาที แนะนำให้ฉีดก่อนอาหาร 15 นาที นอกจากนี้ยังใช้ฉีดหลังรับประทานอาหาร 15 นาที
Short acting Insulin
ชนิดใส ที่เริ่มออกฤทธิ์ภายใน 30-60 นาที
แนะนำให้ฉีดก่อนรับประทานอาหารครึ่งชั่วโมง
Intermediate-acting insulin
อินซูลินที่มีลักษณะขุ่นและไม่สามารถ
ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำได้
Long acting insulin
อินซูลินชนิดใส ไม่มีสี ไม่สามารถผสมกับอินซูลินชนิดอื่นได้ ใช้เป็น basal insulin ฉีดวันละ 1-2 ครั้ง
Premixed insulin
อินซูลินที่ผสมมาก่อนแล้วจากผู้ผลิตในสัดส่วนต่างๆกัน
การเก็บรักษาอินซูลิน
2.อินซูลินที่เปิดฝาแล้วสำหรับใช้ฉีดทุกวัน ถ้าเก็บไว้ที่อุณหภูมิห้อง (30 องศาเซลเซียส) จะอยู่ได้นาน 1 เดือนจะเก็บในตู้เย็นที่อุณหภูมิ 2- 8 องศาเซลเซียส
1.อินซูลินที่เก็บไว้ใช้นานๆ ควรเก็บในตู้เย็นที่อุณหภูมิ 2 – 8 องศาเซลเซียส โดยวางตามชั้นต่าง ๆ ในตู้เย็น ยกเว้นช่องทำน้ำแข็งและบริเวณใกล้ดวงไฟ
ขั้นตอนการฉีกอินซูลิน
ล้างมือให้สะอาดแล้วเช็ดให้แห้งทุกครั้งก่อนฉีดยา กลิ้งขวดยาอินซูลิน ในฝ่ามือทั้ง 2 ข้าง อย่า เขย่าขวดอินซูลิน (ชนิดใสไม่ต้องกลิ้ง)
ใช้สำลีชุบแอลกอฮอล์เช็ดจุกยางของขวดยาอินซูลิน
ดูดลมเข้ามาในหลอดฉีดยาให้จำนวนเท่ากับปริมาณยา (หน่วยเป็นยูนิต) ที่ต้องการ
แทงเข็มฉีดยาให้ผ่านจุก ยางเข้าไปในขวดยา แล้ว ดันอากาศเข้าไปในขวด คว่ำขวดยาลง แล้วดันอากาศเข้าไปในขวด คว่ำขวดยาลง แล้วค่อยๆดูดยาอินซูลินเข้าหลอด ฉีดยาในปริมาณที่ต้องการ
ใช้สำลีชุบแอลกอฮอล์ทำความสะอาดผิวหนัง บริเวณฉีด
ใช้มือข้างหนึ่งดึงผิวหนังบริเวณที่ฉีดให้สูงขึ้น ลำแล้วแทงเข็มฉีดยาลงไปตรง ๆ ให้ตั้งฉากกับ ผิวหนังเข้าชั้นใต้ผิวหนัง ให้มิดเข็ม แล้วค่อยๆดัน ยาเข้าไปจนหมด
ถอนเข็มฉีดยาออกใช้สำลีกดตำแหน่งที่ฉีดยาไว้ชั่ว ขณะถ้ามีเลือดออกไม่ควร คลึง หรือนวดบริเวณฉีด ยา เข็มฉีดยาใช้แล้วทิ้ง หรือเก็บไว้ใช้ได้อีก 2–3 วัน โดยการสวมปลอก นำไปไว้ใน ตู้เย็น และนำมาใช้อีกได้ (อย่านำเข็มไปล้างหรือเช็ด) การฉีดยาควรฉีด ก่อนรับประทานอาหารครึ่งชั่วโมง
โรคทางต่อมไทรอยด์
Hyperthyroidism ภาวะไทรอยด์เป็นพิษ
Antithyroid Drugs
Beta adrenergic blockers
Hypothyroidism ภาวะไทรอยด์ฮอร์โมนต่ำ
ให้ Synthetic hormone ของ Thyroxin (T4)
ฮอร์โมนพาราไทรอยด์สูง
(Hyperparathyroidism )
ยากลุ่ม Calcimimetics
ยากลุ่ม Bisphosphonate
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบสืบพันธ์สตรี
ยาคุมกำเนิด
ยาคุมฉุกเฉิน
ฮอร์โมนผสม ประกอบด้วยฮอร์โมนเอสโตรเจน
และโปรเจสตินผสมกัน (Combined Pill Regimens)
2.ฮอร์โมนเดี่ยวมี ฮอร์โมนโปรเจสตินอย่างเดียว
ยาคุมกำเนิดแบบธรรมดา
ยาคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนรวม
ยาคุมกำเนิดชนิดที่มีแต่โปรเจสโตรเจน
ยาฉีดคุมกำเนิด (Depot Medroxyprogestrone Acetate) DMPA
ยาเลื่อนประจำเดือน Norethisteroneซึ่งเป็น ฮอร์โมน progesterone และมีการนำฮอร์โมนชนิดนี้มาใช้กำหนดวันมีประจำเดือน
ยาปรับฮอร์โมน
Medroxyprogesterone [acetate]
ยานี้ใช้เพื่อรักษาภาวะประจำเดือนผิดปกติ
ฮอร์โมนทดแทน
ฮอร์โมนทดแทนเอสโตรเจน
เช่น Premarin , progynova
Cyclo- progynova
Tibolone
progynova
Androcur