Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Inspection Process, วรรณประชา วงศ์สาคร B6026769 - Coggle Diagram
Inspection Process
มาตรฐานการตรวจสอบ
หลักการสุ่มตัวอย่าง
วิธีการกำหนด Lot/Batch
กำหนด Lot การผลิตในสภาวะเดียวกันเวลาไม่เกิน1วัน
จำนวนเท่าไรก็ได้ สิ้นสุดคือจบ Lot
Sampling
Variable Data
บันทึกลง Insp. Record
จำนวนชิ้นงานที่นำมาวัดการ 2-4 ชิ้น
Attribute Data
บันทึกลง P-Chart
ดูชิ้นงานผ่านหรือไม่ผ่าน
คำนิยาม
Screen
ชิ้นส่วนไม่ดีปะปนกับของดี ทำการคัดเลือกใหม่ 100%
Rework
ชิ้นส่วนไม่ได้คุณภาพทำการเเก้ไขใหม่
Scrap
ชิ้นงานใช้ไม่ได้ต้องทำลายทิ้ง
MRB
นำชิ้นส่วนไม่ได้คุณภาพที่พิจารณาว่าไม่รุนแรงมาติดตั้ง
มีการ Rework หรือ Scrap บางส่วน
Reject
การเกิด Out of Specification รอ QA ตัดสินใจ
Use As Is
นำชิ้นส่วนไม่ได้คุณภาพที่พิจารณาว่าไม่รุนแรงมาติดตั้ง
ไม่มีมีการ Rework หรือ Scrap
วิธีตรวจสอบกระบวนการ
In-process Inspection
ตรวจสอบ Sub-Assy
Final Inspection
ตรวจสอบ Assy
Receive Inspection
ตรวจสอบ Part&Mat.
การสุ่มตัวอย่าง
MIL-STD-105E
แนวคิดเกี่ยวกับระดับคุณภาพที่สามารถยอมรับได ้ (Acceptable Quality Level AQL)
พัฒนาเป็นตารางแผนการชักตัวอย่างของกรมสรรพาวุธแห่งสหรัฐอเมริกา ในปี 1944
ขั้นตอน
การ Sampling Inspection
by Attributes
ใช้กับข้อมูลที่บ่งบอกคุณสมบัติ(ดี-เสีย)
by Variable
ยึดถือจำนวนที่กำหนด Inspection ของบริษัท
ความเป็นมา
H.F.Dodge กับ H.C.Romig
ปี1926 เอาหลักสถิตชิวฮาร์ตประยุกต์การสุ่มตัวอย่าง
W.E.Deming กับ J.M Juran
ปี1949 Usaส่งทั้ง2ไปญี่ปุ่น
การควบคุมทางสถิติ SQC
W.A.Shewhart
ปี1924 คิดเเผนภูมิควบคุมคุณภาพครั้งแรก
การปรับระดับแผนการ
Random Sampling
ตรวจทุกชิ้นแบบ100%
การชักตัวอย่าง
ไม่ต้องตรวจโดยรับชิ้นงานมาจากผู้ผลิตประวัติดี
การสุ่มตัวอย่างทำเมื่อใด
บางอย่างตรวจไม่ได้100%
ไม่รู้ระดับสินค้าผู้ขายเเน่นอน
การตรวจ100%ต้นทุนสูง
เมื่อผู้ผลิตประวัติไม่ดี
เมื่อทดสอบ แบบทำลาย
ประเภทแผนชักตัวอย่าง
การเลือกใช้ดูจาก
ค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบ
ความซับซ้อนและเวลาในการตรวจสอบ
AQL=Acceptance Quality Level
ค่าสูงสุดของจำนวนของเสียคิดเป็นร้อยละ
ควรมีการแยกประเภทของข้อบกพร่องและการกำหนดค่า
ระดับการตรวจสอบ
แผนการ
ระดับ I Reduced ผ่อนปรน
ระดับ III Tightened เข้มงวด
ระดับ II Normal ปกติ
การตรวจสอบพิเศษ
S-1, S-2, S-3, S-4 (S-4 จะเข้มข้นที่สุด)
ตารางเปรียบเทียบ Random Sampling
P-Chart
การบันทึกกับส่วนประกอบ P-Chart
แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย
จุดใช้งาน Final Inspection
นิยมใช้ในการผลิตหลายขั้นตอน
Control Chart
X-R Control Chart (ข้อมูลจากการชั่งตวงวัด)
ควบคุมแนวโน้มสู่ศูนย์กลาง
ควบคุมการกระจายให้อยู่เส้นควบคุม
P Control Chart (ข้อมูลการนับ)
ควบคุมจำนวนของเสียให้ลดลง
ควบคุมลักษณะของเสียให้ลดลง
การแยกปัญหา
Sporadic Problem
ปัญหา จุกจิกเล็กๆ น้อยๆ
ใช้เวลาไม่เกิน 24 Hr.
Chronic Problem
ปัญหา เรื้อรังแก ้ไขยาก
ใชเ้วลาเกิน 24 Hr.
การสรุปจำนวนและ(%)ของเสียด้วย Pareto
ผลของปัญหาต่างๆในรูปกราฟแท่ง ที่ใช้แสดงจำนวนความผิดปกติ
กราฟ Pareto ประเภทน้อยชนิดแต่มีผลมากดีกว่าประเภทมากชนิดเเต่มีผลน้อย
วรรณประชา วงศ์สาคร B6026769