Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา - Coggle Diagram
แการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ขั้นตอนการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน
ขั้นการเตรียมการ
1.1 การเตรียมความพร้อมของบุคลากร
1.2 การแต่งตั้งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบในการประสานงาน กำกับดูแล
ช่วยเหลือสนับสนุนให้ทุกฝ่ายทำงานร่วมกันและเชื่อมโยงเป็นทีม
ขั้นการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน
2.2 การปฏิบัติตามแผน
2.2 การปฏิบัติตามแผน
2.4 การนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน
ขั้นการจัดทำรายงานประเมินตนเอง (SAR) หรือรายงานประจำปี
แนวทางการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
สถานศึกษาแต่ละแห่งต้องจัดให้มีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามกฏกระทรวงว่าด้วยการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 โดยมีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและแต่ละประเภทการศึกษา
สถานศึกษานำมาตรฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนดประกาศใช้ ไปเทียบเคียงและจัดทำเป็น “มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา”จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาและดำเนินงานตามแผนฯ ตลอดช่วงปีการศึกษาและจัดทำ SAR ตามกรอบมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาหลังสิ้นปีการศึกษาแล้วจัดส่ง SAR ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษา
เมื่อหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษาได้รับ SAR จากสถานศึกษา ก็จะมีการสรุป วิเคราะห์ สังเคราะห์ผลการดำเนินงาน และจัดส่งSAR พร้อมประเด็นต่าง ๆ ที่ต้องการให้มีการประเมนผลและติดตามตรวจสอบ
การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาและการตัดสินระดับคุณภาพตามมาตรฐานเป็นไปตามหลักการตัดสิน
การประเมินคุณภาพภายในเป็นหน้าที่ของสถานศึกษา ที่ต้องตรวจสอบและประเมินตนเองตามสภาพบริบทของสถานศึกษา
การกำหนดเป้าหมายความสำเร็จการดำเนินงานของสถานศึกษาให้สถานศึกษากำหนดเป้าหมายความสำเร็จและเกณฑ์การประเมินตามสภาพบริบทของสถานศึกษา
การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้เน้นการประเมินตามหลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพจริงของสถานศึกษา
ในการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษาให้สถานศึกษาดำเนินการ
ให้สถานศึกษาสรุปและจัดทำรายงานการประเมินตนเอง ที่สะท้อนคุณภาพผู้เรียนและผลสำเร็จของการบริหารจัดการศึกษา นำเสนอรายงานต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและหน่วยงานต้นสังกัด
โครงสร้างรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ไม่มีรูปแบบตายตัว ให้สถานศึกษาจัดทำในสิ่งที่สถานศึกษาต้องการนำเสนอได้
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษามีคุณภาพในระดับใด
ข้อมูลหลักฐานและเอกสารเชิงประจักษ์ สนับสนุนมีอะไรบ้าง
แนวทางพัฒนาคุณภาพให้สูงขึ้นกว่าเดิม เป็นอย่างไร
คณะที่ทำหน้าที่ประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ควรศึกษามาตรฐานการศึกษาและประเด็นพิจารณาที่กำหนดให้เข้าใจถ่องแท้ก่อนดำเนินการประเมินคุณภาพสถานศึกษา
ข้อควรตระหนักในการประเมินคุณภาพภายใน
ผู้ประเมินควรวิเคราะห์ อภิปรายด้วยใจเป็นกลาง โดยพิจารณาจาก
ข้อมูลหลักฐานที่เก็บรวบรวมจากหลายๆ ด้านทั้งข้อมูลปัจจุบันและผลการประเมินการดำาเนินงานที่ผ่านมา
ผู้ประเมินควรมีความรู้ลึกและเข้าใจบริบทของการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา
สิ่งที่มีคุณค่ามากที่สุดที่ได้รับจากการประเมินภายในของสถานศึกษาคือการได้รับข้อชี้แนะ คำาแนะนำ แนวทาง การพัฒนาสถานศึกษาที่เป็นรูปธรรมและปฏิบัติได้จริง
การกำาหนดระยะเวลาดำเนินการประเมินภายใน ของสถานศึกษานั้น
ให้สถานศึกษากำาหนดได้เองตามความเหมาะสม
การเก็บรวบรวมข้อมูลในส่วนของการสังเกต และสัมภาษณ์นั้น
ควรกระทำาด้วยความระมัดระวัง
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายใน
กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา
จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน
จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง